Page 9 - MU_11Nov62.pdf
P. 9
Harmony in Diversity
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล น�าร่อง “สูงเนินสุขภาวะโมเดล”
เพื่อเป็นต้นแบบดูแลสุขภาวะผู้ป่วย NCDs ทั่วประเทศ
จากสถานการณ์ในประเทศไทย พบว่า นครราชสีมาน�าร่องโครงการฝึกปฏิบัติงาน ภาวะการอุดตันของเส้นเลือด ท�าให้ผู้ป่วย
ประชาชนไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ พัฒนาสุขภาพแบบบูรณาการ (การฝึกภาค เกิดความตระหนักว่าสิ่งที่ตัวเองก�าลังเป็น
ในเกณฑ์เฉลี่ยต�่ากว่าร้อยละ ๕๐ ซึ่งประชาชน สนาม) ของคณะฯ เป็นแห่งแรกของประเทศ อยู่คืออะไร และจะจัดการได้อย่างไร
ไทยป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ที่ป้องกัน โดยน้อมน�า “ศาสตร์พระราชา” และแนวคิด นอกจากนี้ ได้มีการประยุกต์ใช้ “แนวคิด
ได้ถ้ามีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เช่น โรค ความรู้ด้านสุขภาพ กับการพัฒนาสุขภาพ จิตสังคม” โดยใช้กัลยาณมิตรที่ประสบความ
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วนเป็น ชุมชนแบบบูรณาการมาใช้ในรูปแบบของ ส�าเร็จสามารถหยุดยาได้อย่างปลอดภัยเป็น
จ�านวนมาก และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โดยใน การ “ผนึกก�าลัง สร้างสรรค์ พัฒนา น�าพา ผู้ป่วยที่เข้าใจจิตใจและวิถีชีวิตผู้ป่วยด้วย
ภาครัฐพบว่ามีค่าใช้จ่ายด้านการรักษา ความรอบรู้ สู่สุขภาวะชุมชน” กันเอง สามารถสื่อสารด้วยภาษาที่ง่ายๆ
พยาบาลเพิ่มสูงขึ้นทุกปี และในค่าใช้จ่าย จากตัวเลขผู้ป่วยโรคเบาหวานของ โดนใจ และมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์
เหล่านี้เป็นการรักษาพยาบาลมากกว่าร้อยละ โรงพยาบาลสูงเนินที่มากถึง ๕,๐๐๐ คน และให้ก�าลังใจ ผู้ป่วยโรค NCDs ด้วยกัน
๗๐ ซึ่งมากกว่างบประมาณด้านการส่งเสริม และผู้ป่ วยความดันโลหิตสูงที่มีกว่า และยังเชื่อมกับทีมสุขภาพของโรงพยาบาล
สุขภาพ และป้องกันโรค ๑๐,๐๐๐ ราย ถือเป็นกรณีศึกษาปัญหา ผู้ป่วยจะท�าตัดสินใจเองในการท�ากิจกรรม
สุขภาพที่จ�าเป็นต้องได้รับการจัดการ ต่างๆ อาทิ การออกก�าลังกาย การสร้างวิธี
อย่างเร่งด่วน ซึ่งคณะสาธารณสุขศาสตร์ คิดบวก การท�าสมาธิ การร่วมกันสร้างสรรค์
มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เข้าไปมีบทบาทโดย เมนูอาหารสุขภาพ และการสร้าง “แปลง
การบูรณาการความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วย ผักดักเบาหวาน” ที่ปลูก และดูแลโดยผู้ป่วยเอง
“สูงเนินสุขภาวะโมเดล” โดยมุ่งพัฒนาพื้นที่ศูนย์ให้เป็น “Social
รองศาสตราจารย์ ดร. ชะนวนทอง Innovation & Smart City”
ธนสุกาญจน์ คณบดีคณะสาธารณสุข
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวถึง
Literacy) เป็นรากฐานที่ส�าคัญเน้นให้มีการ “สูงเนินสุขภาวะโมเดล” ว่า เป็นการ
ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ อันจะน�าไปสู่การ ออกแบบเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านจิตใจ
พัฒนาที่ยั่งยืน โดยเป็นประเด็นใหม่ส�าหรับ และสังคมให้กับคนในชุมชน เพื่อการป้องกัน
บุคลากรด้านสาธารณสุข ที่เน้นการพัฒนาทักษะ และดูแลรักษาให้ตัวเองสุขภาพที่ดีปลอดภัย
การให้ข้อมูลข่าวสารสุขภาพแก่บุคคล และการ จากโรค NCDs ที่เป็นอยู่ โดยปรับวิถีชีวิต
สร้างสิ่งแวดล้อมในสังคม องค์กรที่มีการเน้น ตัวเองในการควบคุมอาหารและออกก�าลังกาย “ทั้งหมดนี้เป็นรูปแบบที่เราพยายาม
ความส�าคัญของการใช้ข้อมูล การประเมินความ เพื่อจะได้ลด และงดการใช้ยาได้ในที่สุด ซึ่ง ด�าเนินการอย่างต่อเนื่องซึ่งการเปลี่ยน
ถูกต้องของข้อมูล และตัดสินใจด้วยข้อมูล “สูงเนินสุขภาวะโมเดล” เป็นหนึ่งในความ พฤติกรรมการจัดการวิถีชีวิตไม่ใช่เรื่องง่าย
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย พยายามของคณะสาธารณสุขศาสตร์ ต้องมีความเข้มแข็งทั้งในด้านบุคคล
มหิดล เป็นคณะสาธารณสุขศาสตร์แห่งแรก มหาวิทยาลัยมหิดล ตามเป้าหมายและปรัชญา ครอบครัว ชุมชน และสังคม พวกเราชาวคณะ
ของไทย และมีบทบาทในฐานะสถาบันการ ของการเป็น “ปัญญาของแผ่นดิน” ปัญหา สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ศึกษาในการวางรากฐานด้านการศึกษาทาง ส่วนใหญ่ที่พบ คือ ผู้ป่วยไม่สามารถน�า มีความภาคภูมิใจว่า เราได้เป็นส่วนหนึ่งของ
สาธารณสุขตลอดจนขับเคลื่อน และพัฒนา ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมโรค สังคมอันเป็นจุดเป้าหมายที่จะสร้างความ
เพื่อการเข้าถึง และเข้าใจข้อมูลสุขภาพ ไปใช้ได้จริง ในการอธิบายถึงโมเดลดังกล่าว ยั่งยืน และจะได้ขยายเครือข่ายดูแลสุขภาวะ
ส�าหรับประชาชนให้สามารถดูแลสุขภาพ ให้เข้าใจอย่างง่ายๆ รองศาสตราจารย์ ออกไปเพื่อเป็นต้นแบบการดูแลสุขภาพ
ของตนเอง และครอบครัวได้อย่างเหมาะสม ดร.ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์ ได้ใช้ ให้กับผู้ป่ วยโรค NCDs ทั่วประเทศ
ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ คณะสาธารณ “กระบอกข้าวหลาม” ผ่าครึ่งตามยาว เพื่อสาธิต ต่อไป” รองศาสตราจารย์ ดร. ชะนวนทอง
สุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ให้เห็นถึงการท�างานของระบบไหลเวียนของ ธนสุกาญจน์ กล่าวทิ้งท้าย
โรงพยาบาลสูงเนิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลอดเลือด และใช้ “แป้งโดว์” มาท�าเป็นไขมัน ขอบคุณภาพจาก งานระบบสารสนเทศและ
และภาคส่วนต่างๆ ในอ�าเภอสูงเนิน จังหวัด เกาะที่ผนังหลอดเลือด เพื่อแสดงให้เห็น สื่อสารองค์กร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 9