Page 5 - MU_11Nov62.pdf
P. 5
Special Article
เขมิกา กลิ่นเกษร นักประชาสัมพันธ์
Sexual Harassment Prevention Workshop
วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๒ หลักสูตรศิลป เกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศ โดย ดร.
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิทธิมนุษยชน เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว อาจารย์ประจ�าสถาบันสิทธิ
และการประชาธิปไตย (นานาชาติ) สถาบันสิทธิ มนุษยชนและสันติศึกษาและผู้ริเริ่มโครงการ
มนุษยชนและสันติศึกษา จัดกิจกรรมการให้ ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม
ความรู้เรื่อง “การป้องกันการล่วงละเมิด ในครั้งนี้ว่า ปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศ
ทางเพศ” (Sexual Harassment Prevention ในปัจจุบันมีรูปแบบการล่วงละเมิดทางเพศ
Workshop) ณ ห้อง ๑๑๙ สถาบันสิทธิมนุษยชน ไม่ได้จ�ากัดเพียงการข่มขืน ลวนลาม หรือ
และสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา การสัมผัสร่างกายเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการ
ทั้งนี้ได้รับเกียรติจาก คุณชมาพร แต่งเกลี้ยง แทะโลมทางสายตา ค�าพูด กิริยาท่าทาง และ
กลุ่มโรงน�้าชา (Young Feminist Network) การส่งข้อความ การจัดกิจกรรมในครั้งนี้จึง
คุณศรัทธารา หัตถีรัตน์ และ คุณกนกกร มุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีโอกาสได้พูดคุย
ค�าตา กลุ่มการเมืองหลังบ้าน ผู้เชี่ยวชาญ กับผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกันการล่วงละเมิด
ด้านการเคลื่อนไหวประเด็นความหลาก ทางเพศ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
หลายทางเพศที่มุ่งส่งเสริมสิทธิของสตรี LBT ล่วงละเมิดทางเพศ พร้อมทั้งสามารถน�าความรู้
ในประเทศไทย เป็นวิทยากรบรรยายและ ที่ได้รับไปช่วยเหลือผู้อื่นในอนาคต
ฝึกปฏิบัติให้ความรู้กับนักศึกษาและผู้สนใจ
เกิดอะไรขึ้น? เมื่อแม่สอดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดย นางสาวกัญญา อภิพรชัยสกุล
สถาบันวิจัยวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
อ�าเภอแม่สอด จังหวัดตาก พื้นที่ชายแดน สุขภาพ โดยเฉพาะในกลุ่ม
ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ ผู้ ติดตามหรือกลุ่มที่เป็น
และสังคม เป็นพื้นที่ที่ได้พัฒนานโยบาย ประชากรแฝงซึ่งส่วนใหญ่
และรูปแบบในการจัดการดูแลกลุ่มแรงงาน เป็นกลุ่มเด็กข้ามชาติ
ข้ามชาติ รวมถึงกลุ่มเด็กข้ามชาติ จนได้รับ การพัฒนาแม่สอดเป็นเขต
การยกย่องเป็น “แม่สอดโมเดล” ในหลาย เศรษฐกิจพิเศษ ส�าหรับมุมมอง
เรื่อง เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ อ�าเภอ ที่เป็นข้อกังวล เสียงสะท้อน
แม่สอด จังหวัดตาก ได้รับความเห็นชอบ จากผู้แทนหน่วยงานทางด้าน
จากการประชุมคณะกรรมการนโยบายเขต สุขภาพ คือ ยังขาดการ เตรียม
เศรษฐกิจพิเศษ ให้เป็น ๑ ใน ๕ พื้นที่ที่เหมาะสม การและขาดการให้ความส�าคัญ
ในการจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษใน เกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
ระยะแรกอีกด้วย ที่ผ่านมาส่วนใหญ่จะเป็นการ
เกิดอะไรขึ้น จากผลการศึกษาเชิงคุณภาพ มองในเรื่องของธุรกิจและการลงทุน ยังขาด และโรงเรียนไทยเองเปิดรับเด็กข้ามชาติเข้า
โครงการ “ประชากรเด็กข้ามชาติ: การเลี้ยงดู การเตรียมความพร้อมทางด้านสุขภาพและ ศึกษามากขึ้น เสียงสะท้อนส่วนใหญ่ของผู้ให้
การเข้าถึงบริการสุขภาพและการศึกษา สิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเมื่อการ ข้อมูล มองว่าการศึกษาของเด็กข้ามชาติยังคง
ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษเกิดขึ้นเต็มรูปแบบ เป็นการเข้าเรียนหรือรับการศึกษาจากศูนย์
อ�าเภอแม่สอด จังหวัดตาก” เป็นมุมมอง การไหลเข้าของประชากรต่างถิ่นรวมถึง เรียนรู้ขององค์กรพัฒนาเอกชนมากกว่า
และการรับรู้ของครอบครัวแรงงานข้ามชาติ ประชากรแรงงานข้ามชาติที่เพิ่มขึ้น ย่อมจะน�าไป โรงเรียนไทย ด้วยปัญหาและข้อจ�ากัดของ
และผู้แทนภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง คาดการณ์ สู่แนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของการแพร่ระบาดของโรค เด็กข้ามชาติที่ส�าคัญเป็นเรื่องของภาษาไทย
แนวโน้มผลกระทบจากการพัฒนาพื้นที่เป็นเขต ติดต่อและความยากในการควบคุมโรค โดย เนื่องจากการเข้าศึกษาในโรงเรียนไทย เด็ก
เศรษฐกิจพิเศษของอ�าเภอแม่สอด ที่จะมีต่อ เฉพาะในพื้นที่โรงงานหรือนิคมอุตสาหกรรมที่ จ�าเป็นต้องสื่อสารภาษาไทยได้ ซึ่งการให้
สถานการณ์ประชากรข้ามชาติและเด็กข้ามชาติ จะเพิ่มมากขึ้น ความเสี่ยงทางสุขภาพประเด็น บุตรหลานเข้าศึกษาที่ศูนย์เรียนรู้ขององค์กร
ประเด็นด้านสุขภาพ การพัฒนาพื้นที่ หนึ่งที่เป็นข้อน่ากังวล คือ การแพร่ระบาดของ พัฒนาเอกชนที่ใช้ทั้งภาษาไทยและภาษา
อ�าเภอแม่สอดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ มีแนวโน้ม วัณโรค นอกจากนี้การไหลเข้ามาของจ�านวน อังกฤษควบคู่กันไปในการเรียนการสอน ท�าให้
ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อระบบบริการสุขภาพ แรงงานที่เพิ่มมากขึ้น ย่อมเกิดความแออัดที่ เด็กข้ามชาติมีโอกาสและความสามารถทาง
ในพื้นที่ เช่นที่โรงพยาบาลแม่สอด ได้รับการ เพิ่มมากขึ้น กลายเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มความ ด้านภาษาที่หลากหลายมากกว่า
ขยายขีดความสามารถในการดูแลประชากร ยากล�าบากในการควบคุมโรค การส่งเสริม มุมมองขององค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่
เพิ่มขึ้นเป็นโรงพยาบาลขนาด ๕๐๐ เตียง รวมถึง และป้องกันโรคและการฉีดวัคซีนป้องกันโรค การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของอ�าเภอ
ได้รับการสนับสนุนในการพัฒนาศักยภาพของ ในเบื้องต้น เป็นเรื่องที่ต้องให้ความส�าคัญ แม่สอด หากสามารถด�าเนินการและขับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลในพื้นที่ การศึกษาของเด็กข้ามชาติ การพัฒนา เคลื่อนได้ตามแผนงานที่ประเทศไทยก�าหนด
โดยรอบ โดยการจัดทีมแพทย์และพยาบาล อ�าเภอแม่สอดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ อาจยัง ไว้ คาดว่าน่าจะก่อให้เกิดผลกระทบด้านบวก
ลงไปปฏิบัติงาน แม้โรงพยาบาลแม่สอดจะได้ ไม่ได้มีผลกระทบที่ชัดเจนในด้านการเข้าถึง ในพื้นที่ โดยเฉพาะในด้านโอกาสการจ้างงาน
รับการขยายศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยเพิ่ม การศึกษาของเด็กข้ามชาติมากนัก แต่มีผลก ที่ดีขึ้นในอนาคต ในระยะยาวเด็กข้ามชาติและ
มากขึ้น แต่ปัญหาและข้อจ�ากัดที่ส�าคัญยังคง ระทบทางอ้อมในเชิงบวก เช่น การมีหน่วยงาน นักเรียนในพื้นที่ที่ได้รับโอกาสทางการศึกษา
เป็นเรื่องของก�าลังคน และยอดค่าใช้จ่าย ภายนอกเข้ามาให้การสนับสนุนการศึกษา จะมีโอกาสในการท�างานที่ดีขึ้น โดยเฉพาะ
อนุเคราะห์ต่อปีที่ยังสูงถึงประมาณ ๖๐ ล้านบาท แก่เด็กข้ามชาติเพิ่มขึ้น ได้แก่ องค์กรพัฒนา กลุ่มที่มีความสามารถทางด้านภาษามีโอกาส
เนื่องจากแรงงานจ�านวนมากยังไม่มีบัตรประกัน เอกชนที่ส่งเสริมให้เกิดศูนย์การเรียนรู้มากขึ้น ในการมีงานท�าที่สูงกว่า
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 5