Page 10 - MU_11Nov62.pdf
P. 10
Research Excellence
ข่าวโดย ฐิติรัตน์ เดชพรหม
ภาพโดย ศักดิ์ชัย เอี่ยมกระสินธุ์
รศ.นพ.ชัชวาลย์ ศิลปกิจ ผอ.ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา ม.มหิดล
แนะสื่อสารในครอบครัว ด้วยหลักจิตตปัญญา
จิตตปัญญา คือ กระบวนการเรียนรู้ ครอบครัว ท�าอย่างไรให้บ้านยังคง ควบคุมอารมณ์ หากเป็นผลพลอยได้
ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ เป็นการศึกษาที่เน้น เบิกบานส�าหรับเรา” ณ ห้องประชุม จริงๆ แล้วเราต้องการให้กลับมามองที่
การพัฒนาด้านในอย่างแท้จริง เพื่อให้เกิด ดร.เทียม โชควัฒนา คณะนิเทศศาสตร์ รู้จักคุณค่าและเคารพความเป็นมนุษย์
ความตระหนักรู้ถึงคุณค่าของสิ่งต่างๆ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมเสวนาโดย อย่างแท้จริง โดยการยอมรับในความ
โดยปราศจากอคติ เกิดความรักความ อ.ณฐิณี เจียรกุล นักวิชาการด้านการ แตกต่างหลากหลาย ไม่ตัดสินคนโดย
เมตตา อ่อนน้อมต่อธรรมชาติ มีจิตส�านึก ปฐมวัย อ.วิทวัส สังสะกิจ ครูผู้ฝึกสอน ผิวเผิน และพร้อมที่จะให้อภัยคนอื่น เพื่อยก
ต่อส่วนรวม และสามารถเชื่อมโยงศาสตร์ต่างๆ นักแสดง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา ระดับจิตใจสู่การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ขึ้น
มาประยุกต์ใช้ในชีวิตได้อย่างสมดุล มณีวัฒนา คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ ที่ส�าคัญ คือ เราไม่ได้มุ่งอยู่เพียงแค่การฝึก
ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ คนให้เป็นคนดี เพราะเราเชื่อว่าทุกคนเป็น
มหิดล เป็นองค์กรการศึกษาที่ด�าเนิน รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชัชวาลย์ คนดีอยู่แล้ว แต่หากเราสามารถฝึกใจตัว
การจัดการเรียนการสอน และการวิจัยที่ ศิลปกิจ ผู้อ�านวยการศูนย์จิตตปัญญา เองโดยไม่ปฏิเสธธรรมชาติของตัวเองใน
เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ และการปฏิบัติด้าน ศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ขณะเดียวกัน ก็จะท�าให้เราสามารถ
จิตตปัญญา และการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ ในการเสวนา รองศาสตราจารย์ พัฒนาตัวเองสู่ความส�าเร็จได้เหมือนกัน”
ในมิติ และบริบทที่หลากหลาย ภายใต้ปณิธาน นายแพทย์ชัชวาลย์ ศิลปกิจ กล่าวว่า “แนวคิดการสื่อสารในครอบครัว โดย
ของศูนย์ฯ ในการยกระดับสุขภาวะของคน “จิตตปัญญาวางอยู่บนพื้นฐานแห่งความ ทฤษฎีทุกคนรู้หมดว่า พ่อแม่ต้องฟังลูก
ในสังคมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไป เชื่อมั่นว่า มนุษย์เราทุกคนเปรียบเสมือน สามีต้องฟังภรรยา ต้องมีเวลาให้กัน เราต้อง
ในทางที่ดีขึ้นอย่างแท้จริง ซึ่งที่ผ่านมา เมล็ดพันธุ์พืช มีความสมบูรณ์อยู่แล้ว ไม่ใช้อารมณ์ แต่ถามว่าจิตตปัญญาท�าให้
ทางศูนย์ฯ ได้ร่วมกับ คณะนิเทศศาสตร์ ซึ่งถ้าอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมก็จะ เราท�าอะไร จิตตปัญญาท�าให้เรา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดกิจกรรมเรียนรู้ เติบโตงอกงาม แต่ระบบการศึกษาของ ตระหนักรู้ รู้เท่าทันอารมณ์ของตัวเอง
ต่างๆ ร่วมกันมากมาย โดยมีการบูรณาการ เราที่ผ่านมา พบว่ายังขาดความสมดุล จิตตปัญญาท�าให้เรายอมรับกายใจ
องค์ความรู้ทางด้านจิตตปัญญาศึกษา และ พอดี เราเร่งเด็กทั้งๆ ที่ยังไม่พร้อม เร่งปุ๋ย ของเราอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นความกลัว
นิเทศศาสตร์เข้าด้วยกันให้เกิดเป็นองค์ เร่งน�้าเสียจนท�าให้เมล็ดพันธุ์โตเร็วเกินไป ความกังวล ความโกรธ ความอิจฉา น้อยใจ เราห้าม
ความรู้ใหม่ที่ท�าให้สังคมแห่งการเรียนรู้ของ หรือไม่ก็ฝ่อไปเลย ซึ่งจิตตปัญญาจะช่วย ไม่ได้ หากไม่ปฏิเสธแต่พยายามเข้าใจตัวเอง
ไทยขยายวงกว้างออกไปมากขึ้น โดยเมื่อ ปรับกระบวนการเรียนการสอน โดยการ และผู้อื่นได้ เราก็จะเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ขึ้น”
เร็วๆ นี้ ได้มีการจัดท�าบันทึกข้อตกลงทาง สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้เมล็ดพันธุ์ของ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชัชวาลย์
วิชาการ (MOU) ร่วมกัน และจัดเวทีเสวนา ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้งอกงาม” ศิลปกิจ กล่าวทิ้งท้าย
หัวข้อ “จิตตปัญญากับการสื่อสารใน “จิตตปัญญาไม่ใช่วิชาของการหัด
ผอ.สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ ม.มหิดล แนะพัฒนาศักยภาพสมองด้วย
Brain-based Learning ฐิติรัตน์ เดชพรหม
กระบวนการเรียนรู้ เกิดจากการที่ สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ ที่ท�าให้เกิดการเรียนรู้ผ่าน เกี่ยวข้องกับจิตใจและความรู้สึกของ
สมองรับรู้สิ่งเร้า หรือ ตัวกระตุ้น ผ่าน ระบบประสาทและสมอง บทบาทที่ส�าคัญของ มนุษย์ BBL มีรากฐานมาจาก Cognitive
ระบบประสาทรับความรู้สึก (Sensory สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัย Neuroscience หรือ ประสาทวิทยาศาสตร์
Perception) หรือ ๕ อายตนะ อันได้แก่ ตา มหิดล คือ การผลิตบัณฑิต งานวิจัย และ การรู้จ�า ซึ่งประกอบด้วยศาสตร์ทาง
ดู หูฟัง จมูกดมกลิ่น ลิ้นรับรส และกายสัมผัส การให้บริการด้านวิชาการและความรู้สู่สังคม สรีรวิทยาระบบประสาท (Neurophysiol-
ซึ่งเมื่อประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ จะท�าให้ สร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ ตลอดจน ogy) จิตวิทยาการเรียนรู้ (Psychology of
เกิดความรู้ ความจ�า ความรู้สึกและอารมณ์ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ Learning) และประสาทพฤติกรรมศาสตร์
จนเกิดปัญญาและจิตตปัญญา สามารถน�า เพื่อท�าให้ผู้เรียนเกิดปัญญา ภายใต้แนวคิด (Neurobehavioral Science) มาผนวก
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน และท�างาน “รู้จริง รู้นาน รู้สร้างสรรค์ สื่อสารได้” ซึ่ง กัน เราใช้วิทยาศาสตร์ทางการแพทย์และ
ต่างๆ ให้ส�าเร็จลุล่วงไปได้ ศาสตร์หนึ่งที่สถาบันฯ ได้น�ามาใช้ในการ ระบบประสาทที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ เพื่อ
รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ บริการวิชาการเพื่อให้เกิดการเรียนรู้พัฒนา ประโยชน์ทางการศึกษา โดยมีครูอาจารย์
ชัยเลิศ พิชิตพรชัย ผู้อ�านวยการสถาบัน ศักยภาพตนเอง คือ Brain-Based Learn- จากทั่วประเทศเป็นต้นแบบ ถ้าครูของเรารู้
นวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ing (BBL) หรือ “การเรียนรู้โดยใช้สมอง ศาสตร์การสอนโดยอาศัยระบบประสาท
กล่าวว่า “นวัตกรรมการเรียนรู้” หมายถึง เป็นฐาน” เป็ นฐานในการสอน เราก็จะสามารถ
การพัฒนาตัวกระตุ้น หรือสื่อการเรียนรู้ หรือ “สมองซีกซ้ายเป็นสมองแห่งเหตุผล ท�าให้เด็กมีพัฒนาการเรียนรู้ที่เขาถนัดใน
วิธีการเรียนรู้ ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่ ในขณะที่สมองซีกขวาจะมีหน้าที่ ด้านหนึ่ง และให้เขาพัฒนาอีกด้านหนึ่งให้
10 November 2019 M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership