Page 12 - MU_11Nov62.pdf
P. 12

Research Excellence
             ฐิติรัตน์ เดชพรหม

                                            อาจารย์ ดร.พรินท์พิดา สนธิพันธ์
                                       ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล
                 ค้นพบวิธีบ�าบัดสารหนูโดยใช้ชีววิธีด้วยกลุ่มจุลินทรีย์ท้องถิ่น ลดการปนเปื้อนแหล่งน�้าใต้ดิน











                  “สารหนู” เป็นสารที่พบได้ในธรรมชาติ  แนวทางในการบ�าบัดมลพิษด้วยวิธีทาง  “งานวิจัยทางด้านจุลินทรีย์บ�าบัดสารหนู
               เนื่องจากเป็นองค์ประกอบของดิน หิน และแร่ ชีวภาพ” โดยได้ท�าการศึกษาบริเวณแอ่งน�้า หรือเปลี่ยนรูปสารหนูในประเทศไทยมีการ
               ต่างๆ มีรายงานการตรวจพบปริมาณสารหนู ใต้ดินในพื้นที่จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นที่ตั้งของ ศึกษาน้อยมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเพียงแค่การ
               เกินเกณฑ์มาตราฐานบริเวณแหล่งน�้าใต้ดิน แหล่งชุมชนขนาดใหญ่ และได้รับผลกระทบ  ส�ารวจเบื้องต้นเท่านั้น เนื่องจากวิถีการ
               ในประเทศไทย การปนเปื้อนนั้นเกิดได้ทั้ง จากการท�าเกษตรกรรม โรงงานอุตสาหกรรม   เปลี่ยนรูปสารหนูโดยจุลินทรีย์นั้นค่อนข้าง
               จากธรรมชาติ และจากกิจกรรมของมนุษย์  จากการตรวจวัดปริมาณสารหนูในน�้าใต้ดิน  ซับซ้อน จึงต้องมีการพัฒนาองค์ความ
               เช่น การท�าเกษตรกรรม และการท�าเหมืองแร่  ในเขตอ�าเภอเมือง พบว่าสารหนูในน�้าใต้ดิน  รู้ที่เกี่ยวข้องอยู่เสมอ เพื่อน�ามาพัฒนา
               เมื่อมนุษย์ได้รับสารหนูปริมาณมากจะก่อให้ บางบ่อมีค่าเกินปริมาณมาตรฐานที่ก�าหนด  เทคโนโลยีการบ�าบัดสารหนูทางชีวภาพ
               เกิดอาการเฉียบพลัน เช่น ท้องเสีย อาเจียน  โดยกรมควบคุมมลพิษ   ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยงาน
               มึนเมา ตาพร่ามัว เป็นต้น แต่หากได้รับ  อาจารย์ ดร.พรินท์พิดา สนธิพันธ์   วิจัยของเราจะท�าการศึกษาอย่างครบวงจร
               ปริมาณน้อยและมีระยะเวลานานจะก่อให้เกิด กล่าวว่า “สารหนูรูปแบบที่อยู่ในน�้าใต้ดิน  ตั้งแต่งานวิจัยขั้นพื้นฐานจนถึงการน�าไป
               อาการพิษเรื้อรัง เช่น เกิดอาการที่ผิวหนัง เกิด เป็ นรูปแบบที่มีพิษมากที่สุด เรียกว่า   ประยุกต์ใช้แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมปนเปื้อน
               โรคมะเร็ง และเสียชีวิตได้ในที่สุด ซึ่ง องค์การ “อาร์ซิไนต์” ซึ่งสามารถละลายในน�้าได้ดี
               อนามัยโลก (WHO) ได้มีการจัดอันดับให้ และเคลื่อนที่ไปตามการไหลของน�้าใต้ดิน  ซึ่งนอกจากการแก้ปัญหาสารหนูปนเปื้อน
               สารหนูเป็นสารอันตรายใน ๑๐ อันดับ ท�าให้เกิดการแพร่กระจายได้ในบริเวณกว้าง   แล้ว ยังสามารถน�าไปใช้เป็นแนวทางในการ
               แรก โดยก�าหนดให้คุณภาพน�้าส�าหรับ ซึ่งจากงานวิจัยเราจะใช้กลุ่มจุลินทรีย์  ศึกษาวิจัยเพื่อบ�าบัดสารพิษอื่นๆ ที่เป็นปัญหา
               การบริโภคไม่ควรมีสารหนูปนเปื้อนเกิน  เฉพาะเปลี่ยนให้สารหนูที่ละลายในน�้าได้  ได้ด้วย จากปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
               ๐.๐๑ มิลลิกรัมต่อลิตร          ดีเป็นรูปแบบที่ละลายน�้าไม่ดี หรือ “อาร์ซิ  ท�าให้เกิดการสะสมของสารพิษ รวมทั้งพบ
                  จากปัญหาดังกล่าวท�าให้ อาจารย์  เนต” ซึ่งเป็นรูปแบบที่มีพิษลดลง โดยจะ  สารพิษใหม่ๆ มากขึ้นซึ่งส่งผลกระทบโดยตรง
               ดร.พรินท์พิดา สนธิพันธ์ ภาควิชาชีววิทยา  จับอยู่กับประจุบนดินซึ่งสามารถลดการ  ต่อสุขภาพ ซึ่งการบ�าบัดสารพิษโดยชีววิธี
               คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้คว้า เคลื่อนที่และการปนเปื้อนของสารหนูได้                                                                นับเป็นวิธีทางเลือกที่มีศักยภาพที่จะน�าไป
               ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และ เป็นการบ�าบัดสารหนูโดยใช้ประโยชน์จาก  ใช้บ�าบัดสารพิษเพื่อให้เกิดผลกระทบต่อ
               เทคโนโลยี จาก มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริม ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่ม สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยต้องเริ่มจากการ
               วิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ ได้ริเริ่ม จุลินทรีย์ท้องถิ่น  โดยขณะนี้การศึกษาวิจัย ท�าวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และแนวทาง
               วิจัย “การศึกษาจุลินทรีย์ที่มีบทบาทใน ยังอยู่ในระยะเริ่มต้น ต่อไปจะมีการเพาะ การน�าไปใช้” อาจารย์ ดร.พรินท์พิดา
               การเปลี่ยนรูปสารหนูในน�้าใต้ดินที่ได้รับ เลี้ยงจุลินทรีย์ที่ใช้บ�าบัดเพื่อที่จะพัฒนา สนธิพันธ์ กล่าวทิ้งท้าย
               ผลกระทบจากกิจกรรมการเกษตร เพื่อเป็น ต่อยอดเป็นจุลินทรีย์พร้อมใช้ในอนาคต”  ภาพรับรางวัลโดย พิมพ์ใจ พัดเย็น

                        สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล แนะใช้สื่อออนไลน์อย่างรู้เท่าทัน
                              ครอบครัวอบอุ่นเกิดจากใช้เวลาร่วมกันให้มากพอในพื้นที่จริง

                                                                                                 ฐิติรัตน์ เดชพรหม
                  กันยายน ๒๕๖๑ – สิงหาคม ๒๕๖๒  จากบ้านและโรงเรียน ทั้งที่อยู่ในพื้นที่ออฟ จ�านวน ๑,๕๐๐ คน และ ครู จ�านวน ๑,๕๐๐
               สถาบันวิจัยประชากรและสังคม  ไลน์ และออนไลน์ เพื่อท�าความเข้าใจเกี่ยว คน ใน ๕ พื้นที่ คือ กรุงเทพฯ ชลบุรี เชียงใหม่
               มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับทุนจากส�านักงาน กับสถานการณ์ประชากรเจเนอเรชัน ซี-อัลฟา ขอนแก่น และ สุราษฎร์ธานี เก็บข้อมูลด้วยการ
               กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ  ของประเทศไทยในบริบทต่างๆ และน�าเสนอ สัมภาษณ์โดยทีมนักประชากร นักสังคมวิทยา
               (สสส.) ให้ด�าเนินโครงการยุวชนนิเวศน์ แนวทางในการสร้างสภาพแวดล้อมที่ นักมานุษยวิทยา และนักจิตวิทยา
               ของประชากรเจเนอเรชัน ซี-อัลฟ่า (Child  มีเป็ นมิตรต่อการเติบโตและงอกงาม  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร
               Ecology of Thai Z-Alpha) ซึ่งเป็นประชากร             ของประชากร
               เจเนอเรชันล่าสุดของสังคมไทยที่จะเติบโตเป็น รุ่น ซี-อัลฟ่า ให้มี
               ผู้ขับเคลื่อนสังคมไทยในอนาคต (เกิดระหว่าง  ศักยภาพในการ
               พ.ศ.๒๕๔๗ – ๒๕๖๖) โดยมุ่งประเด็นการ ดูแล และท�านุ
               ศึกษาไปที่ความเชื่อมโยงของอิทธิพลจาก           บ�ารุงสังคมไทยต่อ
               ๓ พื้นที่ที่แวดล้อม และส่งผลต่อพฤติกรรม ไปในอนาคต โดย
               และทัศนคติของยุวชนในเจเนอเรชันนี้                 การศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเด็กอายุ  รองผู้อ�านวยการฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
               ซึ่งได้แก่ บ้าน โรงเรียน และพื้นที่อื่นๆ นอกเหนือ ๓ – ๑๔ ปี จ�านวน ๑,๕๐๐ คน ผู้ปกครอง   สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัย


   12     November 2019                                           M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17