Page 16 - MU_11Nov62.pdf
P. 16

Special Scoop
             ฐิติรัตน์ เดชพรหม


                                คณะแพทยศาสตร์รพ.รามาธิบดี ม.มหิดล


                      จัดกิจกรรมวันธาลัสซีเมีย เพื่อผู้ป่วยและประชาชนครั้งที่ ๔
















                  โรคธาลัสซีเมีย Thalassemia เป็น                คนปกติ  จะ                     ไม่ได้รับการ
               ปัญหาส�าคัญของประเทศโดยเป็นโรค                    ทราบว่ามียีน                   บรรจุให้อยู่
               โลหิตจางทางพันธุกรรมที่พบบ่อยที่สุด               แฝงได้โดยการ                   ในแนวทาง
               ในประเทศไทย  ผู้ที่มียีนแฝงสามารถ                 เจาะเลือดส่ง                   ก ารรั ก ษา
               ถ่ายทอดความผิดปกติจากพ่อแม่สู่ลูกได้                                                                                     ตรวจทางห้อง  มาตรฐาน
               ในประเทศไทยมีผู้ป่วยธาลัสซีเมียจ�านวน             ปฏิบัติการ ซึ่ง                ของโรคธาลัส
               ร้อยละ  ๑  ของประชากร  หรือเท่ากับ                ผู้ ที่ ควรได้                 ซี เมี ยของ
               ๗๐๐,๐๐๐ คน ซึ่งในจ�านวนนี้ ๑๐๐,๐๐๐ คน                                                     รับการตรวจ  ประเทศไทย
               มีอาการรุนแรงมากต้องได้รับการดูแลรักษา            เลือดเพื่ อ                    ซึ่งตอนนี้ก�าลัง
               จากแพทย์อย่างสม�่าเสมอตลอดชีวิต ในขณะ  วินิจฉัยภาวะที่มียีนโรคธาลัสซีเมียแฝง  อยู่ระหว่างการท�าประชาพิจารณ์ อย่างไร
               ที่ทรัพยากรของประเทศมีอยู่อย่างจ�ากัด       คือ ผู้ที่อยู่ในวัยเจริญพันธุ์ที่มีโอกาส                  ก็ตาม สปสช. เพิ่งรับรองให้สามารถ
               จึงเป็นภาระอันยิ่งใหญ่ที่ต้องช่วยกัน ทั้งใน  มีลูก  และผู้ที่ก�าลังจะแต่งงานหรือ ปลูกถ่ายฯ ผู้ป่วยธาลัสซีเมียได้ แต่จ�ากัด
               ส่วนของแพทย์ และประชาชน โดยนอกจาก  ก�าลังวางแผนจะมีลูก รวมทั้งผู้ที่มีญาติ เฉพาะในเด็กไทยที่อายุน้อยกว่า ๑๐ ปี
               แพทย์ที่ต้องท�าหน้าที่รักษาให้ดีที่สุดแล้ว                     เป็นโรคธาลัสซีเมีย หรือมียีนโรคธาลัส                          โดยสามารถใช้สิทธิ์ได้เพียง ๖ ราย
               ในส่วนของประชาชนก็ต้องร่วมป้องกันด้วย  ซีเมียแฝง              ต่อปีเท่านั้น
                  เมื่อเร็วๆ นี้ สาขาวิชาโลหิตวิทยาและ  นอกจากนี้ หญิงตั้งครรภ์ทุกคนควร                  นอกจากนี้ ยังมีวิธีการรักษาโดยใช้ยีน
               มะเร็งวิทยา ภาควิชากุมารเวชศาสตร์   ฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ไม่เกิน ๘ – ๑๒  บ�าบัด ซึ่งถึงแม้จะเป็นการรักษาวิธีใหม่
               คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี   สัปดาห์ เพื่อรับการตรวจเลือดว่ามียีน                       ที่ท�าให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคได้ และ
               มหาวิทยาลัยมหิดล จัดกิจกรรมวันธาลัส  โรคธาลัสซีเมียแฝงหรือไม่ ถ้าตรวจพบว่ามี ภาวะแทรกซ้อนระยะเฉียบพลันน้อย
               ซีเมียเพื่อผู้ป่วยและประชาชน ครั้งที่ ๔   ยีนโรคธาลัสซีเมียแฝง ต้องรีบน�าสามีมารับ กว่าการปลูกถ่ายฯ แต่ยังเป็นการรักษาที่
               “อินไซด์โรคธาลัสซีเมีย: คุณรู้จักโรค  การตรวจเลือดว่ามียีนโรคธาลัสซีเมียแฝง มีราคาสูงมาก ถึงประมาณ ๕๐ ล้านบาท
               นี้ดีหรือยัง” ณ ห้องประชุมอรรถสิทธิ์                                          ด้วยหรือไม่ หากสามีก็มียีนโรคธาลัสซีเมีย และยังไม่ทราบถึงผลข้างเคียงใน
               เวชชาชีวะ ชั้น ๕ อาคารศูนย์การแพทย์                       แฝงแพทย์จะให้ค�าปรึกษาเกี่ยวกับโอกาส ระยะยาว อีกทั้งเป็นวิธีการที่ไม่ครอบคลุม
               สิริกิติ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล  เสี่ยงต่อการมีลูกเป็นโรคธาลัสซีเมีย และ ด้วยสิทธิการรักษาในระบบประกันสุขภาพ
               รามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งการดูแล      ด�าเนินการตรวจทารกในครรภ์ว่าเป็น ถ้วนหน้า ไม่เหมือนวิธีการที่ได้รับรองอย่าง
               ผู้ป่วยเด็กที่เป็นธาลัสซีเมียนั้นมีความส�าคัญ  โรคธาลัสซีเมียหรือไม่ เมื่อตั้งครรภ์ เช่น การรับเลือดการรับยาขับเหล็ก การ
               ทั้งในส่วนของตัวผู้ป่วยเอง พ่อแม่ผู้ปกครอง   ประมาณ ๑๐ – ๒๐ สัปดาห์ ทั้งนี้ ผู้ป่วย ปลูกถ่ายเซลล์ต้นก�าเนิดฯ จากพี่น้องพ่อแม่
               และแพทย์ โดยในงานมีการจัดบรรยาย                      ธาลัสซีเมียจะต้องมีวินัยในตัวเอง ทั้งในการ เดียวกันที่เนื้อเยื่อเข้ากัน หรืออาสาสมัคร
               ให้ความรู้ พร้อมด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ  รับประทานยา ออกก�าลังกาย หลีกเลี่ยงการ จากสภากาชาดไทยที่เนื้อเยื่อเข้ากัน
               มาคอยให้ค�าแนะน�า              รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง ตลอดจน  “วิธีการที่ดีที่สุดส�าหรับโรคธาลัสซีเมีย
                  ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอ�าไพวรรณ   มาพบแพทย์เพื่อรับเลือดอย่างสม�่าเสมอ       เนื่องจากเป็ นโรคที่ถ่ายทอดทาง
               จวนสัมฤทธิ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์   ทุก ๒ – ๖ สัปดาห์         พันธุกรรม เราจึงควรที่จะป้องกันไม่
               คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี    ด้าน รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ให้เกิดผู้ป่ วยรายใหม่ เพื่อลดผลกระ
               มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า คนไทยทั่วไป  อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์ ภาควิชากุมาร ทบที่จะเกิดต่อตัวผู้ป่วย และครอบครัว
               มีโอกาสพบยีนโรคธาลัสซีเมียแฝงสูง  เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล ตลอดจนเศรษฐกิจสังคมของประเทศไทย”
               ถึงร้อยละ ๔๐ ผู้ที่มีโอกาสพบยีนโรคธาลัส                      รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ให้ค�า รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อุษณรัสมิ์
               ซีเมีย ได้แก่ คู่สมรสที่มีลูกเป็นผู้ที่มีญาติเป็น  แนะน�าในส่วนของการปลูกถ่ายเซลล์          อนุรัฐพันธ์ กล่าวทิ้งท้าย
               โรคธาลัสซีเมีย และผู้ที่มีญาติเป็นโรคธาลัส  ต้นก�าเนิดเม็ดเลือด ซึ่งเป็นนวัตกรรม
               ซีเมียหรือมียีนโรคธาลัสซีเมียแฝง โดยที่  ใหม่ทางการแพทย์ที่สามารถรักษาโรค                         * ขอขอบคุณภาพจาก ศาสตราจารย์
               ผู้ที่มียีนแฝงนั้นมีสุขภาพแข็งแรงเหมือน  ธาลัสซีเมียให้หายขาดว่า วิธีดังกล่าวยัง แพทย์หญิงอ�าไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์




   16     November 2019                                           M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21