Page 19 - MU_11Nov62.pdf
P. 19
Teaching Learning Excellence
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
สุขศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ผู้วิจัยพบ โดยไม่ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญ ไม่ว่าจะเป็น หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ หน่วยวางแผน
ว่าเด็กมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายทางเพศเบื้องต้น พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือคุณครู และผู้ใช้สื่อใช้ ครอบครัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
เช่น ไม่ควรไปไหนกับคนแปลกหน้า แต่เด็กยัง ระยะเวลาในการสอนเด็ก ประมาณ ๒ ชั่วโมง ต�าบล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ หรือหอ
ขาดทักษะในการเอาตัวรอดหรือปฏิเสธเมื่อ หลังจากนั้นเด็กๆ สามารถอ่านได้เอง ผู้ป่วยเด็กในโรงพยาบาลได้ โดยหน่วยงาน
เกิดสถานการณ์ที่เสี่ยง ผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิด จากการน�าสื่อ SYN-GO นี้เข้าไปเผย ที่ติดต่อขอใช้สื่อ SYN-GO ได้แก่ ภาควิชา
ในการพัฒนาสื่อ SYN-GO (“Say Yes! Say แพร่สื่อในโรงเรียน คุณครูประจ�าชั้นประถม กุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช
No! and Go away”) ในการสอนป้องกันการ ศึกษาปีที่ ๑ ในโรงเรียนรัฐบาลแห่งหนึ่งของ พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาการ
ล่วงละเมิดทางเพศในเด็กที่บุคคลทั่วไปใช้งาน กรุงเทพมหานคร กล่าวว่า “ครูว่าครูสอนเด็ก ส่งเสริมสุขภาพ คณะกายภาพบ�าบัด
ได้ ซึ่งประกอบด้วย ๑) หนังสือเล่าเรื่อง มาตลอดว่าให้ระวัง แต่ไม่คิดเลยว่าเด็กๆ จะไว้ใจ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชา
“อย่าจับหนูนะ” ที่ผู้วิจัยออกแบบขึ้นใหม่โดย คนแปลกหน้า และแยกไม่ออกขนาดนี้ว่าที่ สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะ
อ้างอิงเนื้อหาจากหลักสูตรการเรียนการสอน ตรงไหนในร่างกายของเขาที่ไม่ควรให้คนอื่น สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ตามมาตรฐานในรายวิชาสุขศึกษาเนื้อหาที่ จับหรือสถานการณ์แบบไหนที่อันตรายต่อเขา ภาควิชาอนามัยครอบครัว คณะสาธารณสุข
สอดคล้อง ได้แก่ หัวข้อร่างกายของฉัน และ มีสื่อแบบนี้มาสอนเขาก็ดีจะได้ช่วยให้เขา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มงานเวชศาสตร์
วิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่น�าไปสู่การถูกล่วง เข้าใจมากขึ้น ครูเองก็พูดกับเด็กได้ง่ายขึ้น” ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาล
ละเมิดทางเพศ และเพิ่มเนื้อหาทักษะที่ส�าคัญ นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ผู้ปกครอง บ้านนา จังหวัดนครนายก โรงเรียนชนบทศึกษา
ในการกระท�าพฤติกรรมป้องกันการล่วง ท่านหนึ่งของเด็กกลุ่มที่ได้ทดลองใช้สื่อ SYN-GO จังหวัดขอนแก่น โรงเรียนเทศบาลวัดกลาง
ละเมิดทางเพศในเด็กที่พบจากการทบทวน ซึ่งกล่าวว่า “ตอนแรกที่พี่มาขอแม่ให้น้องเข้า จังหวัดขอนแก่น นอกจากนี้ ในการน�าเสนอ
วรรณกรรมและศึกษาน�าร่อง ได้แก่ การ ร่วมกิจกรรม แม่ก็ไม่อยากให้น้องเข้าเท่าไหร่ ผลงานรางวัลวิทยานิพนธ์นวัตกรรมดีเด่น
แยกแยะสัมผัสที่ปลอดภัยและไม่ปลอดภัย เพราะคิดว่าไม่จ�าเป็นต้องรู้ เรื่องนี้สักป.๖ ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ที่บัณฑิต
การปฏิเสธเมื่อได้รับสัมผัสที่ไม่ปลอดภัย แม่จะสอนเอง แต่พอได้เห็นข่าวที่ช่วงนี้มัน วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล จัดขึ้นเมื่อ
และการขอความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่เมื่อได้ เยอะมาก แม่เลยคิดได้ว่าเราไม่รู้ว่าเรื่องแบบนี้ เร็วๆ นี้ ณ ห้อง ๓๒๒ อาคารศูนย์การเรียนรู้มหิดล
รับสัมผัสที่ไม่ปลอดภัย และ ๒) ตุ๊กตารูป จะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ให้เขารู้ไว้ก็ดี เลยให้เขาเข้า มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ศาสตราจารย์
ร่างเด็กหญิง (ชูใจ) และเด็กชาย (ใบบุญ) ร่วมกิจกรรมด้วย พอเขากลับมาบ้าน แม่ก็ถาม ดร.แพทย์หญิง พัชรีย์ เลิศฤทธิ์ คณบดีฯ
ที่สามารถส่งเสียงได้เมื่อถูกสัมผัสใน เขาว่าวันนี้พี่สอนอะไร เขาเล่าให้ฟังว่าพี่สอน ได้แสดงความชื่นชม และกล่าวว่าจะสนับสนุน
บริเวณพื้นที่ส่วนตัว คือ ปาก หน้าอก อะไรบ้าง เขาบอกแม่ได้นะว่าตรงไหนไม่ให้ ต่อยอดผลงานวิจัยนี้ โดยน�าเสนอต่อกระทรวง
อวัยวะเพศ ก้น และต้นขา ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ใครจับ เขารู้ว่าต้องพูดว่ายังไงถ้ามีคนมาจับ ศึกษาธิการเพื่อน�าไปใช้เป็นสื่อการสอนเรื่อง
โดยดัดแปลงจากตุ๊กตาสอนป้องกันการล่วง น้องหนู (อวัยวะเพศ) ของเขา แม่คิดว่าดีแล้ว การป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในเด็ก
ละเมิดทางเพศของประเทศปารากวัย โดย ล่ะที่ลูกได้เรียน อยากให้เด็กแถวบ้านได้เรียน ประถมศึกษาในโรงเรียนทั่วประเทศอีกด้วย
ปรับเปลี่ยนรูปแบบตุ๊กตาและวิธีการพูดให้ ด้วยเหมือนกัน เพราะเดี๋ยวนี้ไว้ใจใครไม่ได้ จะดีไหมถ้าลูกหลานของเราได้เรียนรู้วิธี
เหมาะสมกับบริบทของเด็กไทย ซึ่งตุ๊กตาเป็น ป้องกันไว้ดีกว่า” การเอาตัวรอดจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
ตัวแบบเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Model) ที่ ผู้วิจัยคาดหวังว่าสื่อ SYN-GO จะช่วย จะดีไหมถ้าชั้นของเล่นมีสื่อ SYN-GO
จะช่วยกระตุ้นให้เด็กมีแรงจูงใจในการเรียนรู้ ให้เด็กมีความรู้ที่เหมาะสมเพื่อน�าสู่การ ให้ทุกคนได้เลือกซื้อไปใช้ เเละนิทานก่อน
และปฏิบัติตาม โดยผู้วิจัยได้ด�าเนินการ กระท�าพฤติกรรมป้องกันการล่วงละเมิดทาง นอนสักเรื่องจะสอนให้เด็กปลอดภัยจากการ
ประดิษฐ์ตุ๊กตาโดยอัดเสียงประโยคที่ถอด เพศที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยเป้าหมาย ถูกล่วงละเมิดทางเพศ
บทเรียนได้จากการสัมภาษณ์นักเรียนชั้น ส�าคัญของงานวิจัยนี้ คือ “เเม้จะมีเด็กแค่ จะดีไหม ถ้าจะมีเด็ก เเม้เพียงคนเดียว
ประถมศึกษาปีที่ ๑ ได้แก่ ๑) บริเวณปาก เพียงคนเดียวที่ปลอดภัยจากการถูกล่วง ที่ปลอดภัยจากการล่วงละเมิดทางเพศ
พูดว่า “ห้ามจุ๊บหนูนะ” ๒) บริเวณหน้าอก ละเมิดทางเพศหลังได้ใช้สื่อ SYN-GO จากการใช้สื่อ SYN-GO
พูดว่า “เอามือของคุณออกไปจากหน้าอก ก็ถือว่างานวิจัยนี้ประสบความส�าเร็จ” สนใจสื่อ SYN-GO สอบถามรายละเอียด
หนู” (เฉพาะตุ๊กตาเด็กหญิง) ๓) อวัยวะ ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับ เพิ่มเติมได้ที่ โทร. ๐๘-๗๔๒๓-๓๕๗๔
เพศพูดว่า “ห้ามจับน้องหนูของหนูนะ” ๔) การส่งเสริมสุขภาพเด็กในโรงเรียนก็ E-mail: milk.r2r.thailand@gmail.com
ต้นขาพูดว่า “เอามือของคุณออกไปจาก สามารถใช้สื่อ SYN-GO ประกอบการ
ขาหนู” และ ๕) บริเวณก้นพูดว่า “ห้ามจับ สอนเรื่องการป้องกันการล่วงละเมิด ขอขอบคุณภาพบางส่วนจาก บัณฑิตวิทยาลัย
ก้นของผม” จากนั้นฝังเครื่องอัดเสียงในตุ๊กตา ทางเพศในเด็กนักเรียนได้เช่นเดียวกัน ม.มหิดล
เติมใยสังเคราะห์และเย็บปิด ซึ่งจุดเด่นของ นอกจากนี้ สื่อ SYN-GO สามารถใช้สอน
สื่อ SYN-GO คือ เป็นสื่อที่ใครๆ ก็ใช้ได้ เด็ก หรือผู้ปกครองที่เข้ามารับบริการใน
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 19