Page 18 - MU_11Nov62.pdf
P. 18

Special Scoop
             อิษยา วิธูบรรเจิด สถาบันโภชนาการ ม.มหิดล


                   แนะน�าผู้อ�านวยการคนใหม่สถาบันโภชนาการ มุ่งหน้า “Newtrition”












                  เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๒ สถาบัน ให้เกิดงานวิจัยขั้นแนวหน้า ผลักดันให้เกิด
               โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดพิธีส่งมอบ นวัตกรรมอาหาร ต่อยอดความเป็นเลิศด้านงาน
               งานในหน้าที่ราชการ น�าโดย รศ.ดร.รัชนี  โภชนาการจากแนวคิด การกินในปริมาณพอเพียง
               คงคาฉุยฉาย ส่งมอบงานให้กับ ดร.ชลัท  สมดุล สู่งานวิจัยด้านโภชนาการเฉพาะบุคคล
               ศานติวรางคณา ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากสภา (Personalized Nutrition) รวมทั้งงานวิจัยด้าน
               มหาวิทยาลัยมหิดล ให้ด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวย ความปลอดภัย และความมั่นคงทางอาหาร ๓)
               การสถาบันโภชนาการ วาระ ๔ ปี ตั้งแต่วันที่  ด้านการเรียนการสอน เน้นการบูรณาการ  ส�าหรับทีมผู้บริหารที่จะมาช่วยเสริมทัพนั้น
               ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ เป็นต้นไป       ความรู้จากงานวิจัย เพื่อใช้ในการสอน การ  ได้แก่ ผศ.ดร.นัฐพล ตั้งสุภูมิ ผศ.ดร.เชาวนี
                  อ.ดร.ชลัท ศานติวรางคณา เคยด�ารง เพิ่มหลักสูตรและการอบรมระยะสั้น การใช้  ชูพีรัชน์ ผศ.ดร.วรางคณา ศรีจ�านงค์
               ต�าแหน่งเป็นหัวหน้าศูนย์นวัตกรรมอาหาร เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ปัญญาประดิษฐ์  รศ.ดร.เอกราช เกตวัลห์ และ อ.ดร.ธัญญ์
               และการอ้างอิงด้านอาหารเพื่อโภชนาการ   เข้ามาสนับสนุนการเรียนการสอน ๔) ด้าน  นลิน วิญญูประสิทธิ์ ซึ่งจะมอบหมายหน้าที่
               ดูแลด้านการบริการงานวิจัยแบบบูรณาการ  การให้บริการ เน้นสร้างพันธมิตรเชิงกล  ความรับผิดชอบเร็วๆ นี้
               ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทาง ยุทธ์กับกลุ่ม และภาคส่วนต่างๆ จัดอบรม  “เป้าหมายของสถาบันในอีก ๔ ปีข้างหน้า คือ
               โภชนาการ เน้นให้เกิดการต่อยอดในเชิง เชิงปฏิบัติการด้านอาหารและโภชนาการ  การจะก้าวไปสู่โภชนาการยุคใหม่-New    trition
               พาณิชย์ และถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้กับหน่วย ส�าหรับสาธารณะ การจัดท�าโครงการโดยมี  ซึ่งการเริ่มอาจจะไม่ง่าย มีความท้าทายหลาย
               งานภาครัฐหรือเอกชน โดยเฉพาะส�าหรับ ส่วนร่วมกับชุมชน ๕) ด้านการเงิน ประยุกต์  อย่าง แต่ถ้าหากเราคาดหวังผลลัพธ์ที่
               อุตสาหกรรมขนาดกลางและเล็ก ซึ่งภายในงาน ใช้การบริหารแบบกึ่งธุรกิจ อาทิ การใช้ข้อมูล                                                                แตกต่าง  ก็ต้องลองใช้วิธีการที่แตกต่าง
               ดังกล่าว อ.ดร.ชลัท ได้เปิดเผยถึงวิสัยทัศน์ ตัวเลขเพื่อการตัดสินใช้ การวิเคราะห์ที่มาของ  ด้วยความร่วมมือของบุคลากรทุกส่วน
               การบริหารงานทั้ง ๕ ด้าน ดังนี้ ๑) ด้าน ต้นทุน-ก�าไร การลดค่าใช้จ่ายเรื้อรัง สร้างโอกาส  เพราะการเปลี่ยนแปลงเกิดได้ หัวใจไม่ใช่
               บุคลากร เน้นการพัฒนาบุคลากร ผ่านการ                                                          ทางการเงินด้วยการพึ่งพาตนเองหารายได้  การสร้างสิ่งใหม่ๆ ขนาดใหญ่ แต่เป็น การพัฒนา
               ฝึกอบรม การปรับเปลี่ยนเรียนรู้สิ่งใหม่ ยกเลิก                          อย่างยั่งยืน ผ่านการสร้างพันธมิตรที่เข้มแข็ง  อย่างต่อเนื่อง ค่อยๆ ปรับปรุงวิธีการท�างาน
               แก้ไขความคุ้นเคยเดิมๆ (unlearning) การ กับหน่วยงานต่างๆ ที่เป็นแหล่งทุนสนับสนุน  ให้ดีขึ้นทีละเล็กทีละน้อย ให้ทุกคนมีส่วนร่วม
               สับเปลี่ยนหมุนเวียนงาน และสร้างทัศนคติ ในงานวิจัย รวมถึงหาแหล่งทุนสนับสนุนผ่าน  พัฒนาองค์กร ตั้งแต่การการท�างาน การน�า
               แบบ “จะท�าอย่างไรให้ส�าเร็จ” แทน “ท�าไม่ได้ กลไกใหม่ๆ เช่น การระดมทุนแบบเปิด (Public   เสนอความคิดเห็น ไปจนถึงการชื่นชมความ
               เพราะ...” ๒) ด้านงานวิจัย เน้นความร่วมมือ open-source funding)  ส�าเร็จร่วมกัน” อ.ดร.ชลัท กล่าวสรุป


                                                   อริสา โพธิ์ชัยสาร Teaching Learning Excellence
                                   มหาบัณฑิตคณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล                           ฐิติรัตน์ เดชพรหม
                 คิดค้นและออกแบบตุ๊กตาพูดได้ สอนป้องกันล่วงละเมิดทางเพศส�าหรับเด็กไทย

                  บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ ส�าคัญของสาธารณสุขในระดับโลก และ
               ประกาศให้ผลงาน “ผลของการใช้หนังสือ ประเทศไทย โดยในประเทศไทยพบการล่วง
               เล่าเรื่องและตุ๊กตา “Say Yes! Say No! and              ละเมิดทางเพศในเด็กเพิ่มขึ้นมากทุกปี
               Go away” (SYN-GO) ต่อพฤติกรรมป้องกัน จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุขตั้งแต่
               การล่วงละเมิดทางเพศในเด็กนักเรียน ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๘ พบว่ามีเด็กถูก
               ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนรัฐบาล ล่วงละเมิดทางเพศถึงประมาณ ๕,๐๐๐ คน
               กรุงเทพมหานคร” ของ นางสาวอริสา  ต่อปี ซึ่งการถูกล่วงละเมิดทางเพศในวัยเด็ก
               โพธิ์ชัยสาร มหาบัณฑิตสาขาวิชาสุขศึกษา ที่พบมากที่สุด คือ การสัมผัสทางเพศที่ไม่พึง ยอมรับนับถือในตัวเองค่อนข้างต�่า การสูญเสีย
               และส่งเสริมสุขภาพ คณะสาธารณสุขศาสตร์  ประสงค์ เช่น การลวนลาม การให้จับอวัยวะ ความสามารถทางสังคม การมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
               มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมี รองศาสตราจารย์  เพศของผู้ล่วงละเมิดและการลูบคล�าร่างกาย เช่น ติดเชื้อ HIV การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ คิด
               ดร.สุปรียา ตันสกุล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา  ของเด็ก โดยผู้ที่กระท�ากับเด็กกว่าร้อยละ  ฆ่าตัวตาย ตลอดจนการติดยาเสพติด ฯลฯ
               ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์นวัตกรรมระดับ ๙๓ เป็นคนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ  จากการวิจัยพบว่า การป้องกันการ
               ดีมาก โดยเข้ารับรางวัล และโล่ประกาศ เด็ก ซึ่งมีทั้งคนในครอบครัว รวมถึงคนที่เด็ก ล่วงละเมิดทางเพศในเด็กควรเริ่มตั้งแต่
               เกียรติคุณ ในวันปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่  รู้จักไว้วางใจ และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด โดย วัยเด็กตอนต้นที่มีอายุระหว่าง ๖ – ๑๒ ปี
               บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ�า การล่วงละเมิดทางเพศก่อให้เกิดผลกระทบ เพราะเด็กวัยนี้เริ่มสนใจเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ รอบตัว
               ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เมื่อเร็วๆ นี้  ด้านลบต่อร่างกายจิตใจสุขภาพและการด�ารง รู้จักสังเกตเห็นความแตกต่าง และสามารถคิด
                  นางสาวอริสา โพธิ์ชัยสาร กล่าวว่า  ชีวิตของเด็ก น�าไปสู่การตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า  เปรียบเทียบเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง
               การล่วงละเมิดทางเพศในเด็กเป็นปัญหา การแสดงออกทางเพศอย่างไม่เหมาะสม การ สิ่งต่างๆ ได้ จากการได้สัมภาษณ์ครูผู้สอนวิชา
   18     November 2019                                           M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23