Page 13 - MU_11Nov62.pdf
P. 13

Research Excellence


                                                                                                   เพชรดา ฐิติยาภรณ์
               มหิดล กล่าวในฐานะหัวหน้าโครงการฯ                           “เราพบว่าในครอบครัวในพื้นที่เสมือน  โดยสามารถเยียวยาความเปราะบางของ
               ว่า “ส่วนหนึ่งที่เราพูดคุยเพื่อตั้งค�าถามศึกษา สามารถมีครัวเรือนในลักษณะต่างๆ ทั้ง   ครอบครัวที่ต้องอยู่ห่างไกลกันได้ แต่
               กับเด็กกลุ่มนี้ คือ เวลาที่เด็กใช้โซเชียลมีเดีย “ครัวเรือนขยาย” หรืออยู่ด้วยกันสามเจเนอเร  ทดแทนการเป็นอยู่แบบได้เห็นหน้ากันได้
               สื่อสารกับคนในครอบครัวมีลักษณะเป็น ชัน ปู่ย่าตายาย พ่อแม่ ลูก ทั้ง “ครัวเรือน                  สัมผัสกันไม่ได้ ซึ่งเป็นจุดที่เป็นข้อควรระวัง
               อย่างไร ซึ่งพบว่าครอบครัวในสังคมไทยใน เดี่ยว” ที่มีเพียงหนึ่งหรือสองเจเนอเรชัน และ   หากเรารู้เท่าทันจะท�าให้เราใช้สื่อสร้างสรรค์
               ปัจจุบัน คนในครอบครัวมีการพูดคุยกัน “ครัวเรือนข้ามรุ่น” ซึ่งมีปู่ย่าตายายอยู่ด้วย  สังคมได้อย่างเป็นประโยชน์มากที่สุด”
               ในพื้นที่เสมือนมากขึ้น เนื่องจากอยู่กันแบบ กันกับหลานแต่พ่อแม่ไม่อยู่ เป็นครัวเรือนใน  “ส่วนหนึ่งจากงานวิจัยพบว่า ถ้า
               กระจัดกระจายกันมากขึ้น อยู่ห่างไกลกัน ลักษณะหลากหลายแต่เกิดขึ้นได้พร้อมกัน   บรรยากาศในครอบครัวในพื้นที่จริงดี
               มากขึ้น และใช้เวลาอยู่ร่วมกันน้อยลง  นอกจากนี้พบว่าการใช้โซเชียลมีเดียส่งผล  บรรยากาศในโซเชียลมีเดียก็จะดีไปด้วย
               เนื่องจากหลายสาเหตุ ทั้งจากการย้ายถิ่น จาก ต่อการทักษะในการมีปฏิสัมพันธ์ของเด็ก  โดยเป็นผลที่ตามมาจากความอบอุ่นที่
               ครอบครัวขยายที่อยู่กันแบบปู่ย่าตายายพ่อ กับคนอื่นๆ โดยในกลุ่มครอบครัวที่มีสามเจ  เกิดจากการสัมผัสในพื้นที่จริง แต่ถ้าเกิด
               แม่ลูกในหนึ่งบ้าน หรือรวมกันสามเจเนอเร เนอเรชัน ผู้ใหญ่รุ่นปู่ย่าตายายอาจรู้สึกไม่ชิน  ในพื้นที่จริงความสัมพันธ์ไม่ค่อยดี จะท�าให้
               ชัน อาจเหลือแต่พ่อแม่ลูก ในขณะที่พ่อแม่ลูก กับภาษาที่เด็กสื่อสารในโซเชียลมีเดีย ไม่ว่า  ความสัมพันธ์ในโซเชียลมีเดียไม่ดีไปด้วย และ
               บางบ้านก็อาจจะเหลือแต่พ่อกับลูก หรือแม่ จะเป็นค�าห้วนๆ หรือ ค�าแผลงต่างๆ ที่ผู้ใหญ่  แม้ความรักความผูกพันยังมี แต่ด้วยความ
               กับลูก อย่างนี้เป็นต้น รวมทั้งการที่สมาชิกใน บางคนอาจไม่ชอบ ในขณะที่เจเนอเรชันพ่อ  ห่างไกล ท�าให้โอกาสในการช่วยเหลือเกื้อกูล
               ครัวเรือนใช้เวลาเดินทางในท้องถนนนานขึ้น แม่จะคอยเป็นตัวประสานความเข้าใจของ                             อย่างทันท่วงทีลดลงตามไปด้วย ซึ่งโดยสรุป
               เนื่องจากสภาพการจราจรและความเป็นเมือง  เจเนอเรชันปู่ย่าตายายกับเจเนอเรชันลูก โดย
               ซึ่งจากการที่สังคมมีพัฒนาการมากขึ้น ท�าให้ เราพยายามที่จะบอกว่าโซเชียลมีเดียที่ใช้กับ  เป็นการยืนยันว่า ความอบอุ่นที่แท้จริง
               ครอบครัวจ�าเป็นต้องใช้พื้นที่เสมือนในการ ครอบครัวนั้นมีข้อดีคืออะไร ข้อไม่ดีคืออะไร   เกิดขึ้นนอกพื้นที่เสมือน เพราะฉะนั้น
               สื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารผ่าน LINE หรือ ซึ่งการโซเชียลมีเดียจริงๆ แล้วถ้าใช้ให้  ควรจะต้องมีการใช้เวลาร่วมกันระหว่าง
               ผ่าน Facebook โดยเราพยายามที่จะตีแผ่ เกิดประโยชน์สามารถช่วยได้ในเรื่องการ  ครอบครัว (family time) ที่มากเพียงพอ”
               ความสัมพันธ์ของครอบครัวที่พูดคุยผ่าน บริหารจัดการภายในครัวเรือน (Household   ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร
               โซเชียลมีเดียว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร ซึ่ง Management) เช่น การไปโรงเรียนของลูก   กล่าวสรุปทิ้งท้าย
               จากการศึกษาพบว่ามีช่องว่างการสื่อสาร การจัดการเรื่องอาหาร การนัดพบเพื่อท�า
               ระหว่างเจเนอเรชันที่อยู่ในพื้นที่เสมือนนี้” กิจกรรมของครอบครัวผ่านโซเชียลมีเดีย ฯลฯ   ขอขอบคุณภาพจาก IPSR


                                              รศ.ดร.ดาครอง พิศสุวรรณ

                        กลุ่มสาขาวิชาวัสดุศาสตร์และนวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล
                  วิจัยคัดกรองเซลล์มะเร็งก่อนระยะแพร่กระจาย ด้วยอนุภาคนาโนทองและแม่เหล็ก
                                 มุ่งลดอัตราการตายผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในผู้หญิงไทย

                                                                                                 ฐิติรัตน์ เดชพรหม
                  รศ.ดร.ดาครอง พิศสุวรรณ กลุ่มสาขาวิชา ตัวอย่างเลือดที่มีทั้งเซลล์เม็ดเลือดขาวและ แต่ต่อไปจะใช้ตัวอย่างเลือดจริงของผู้ป่วย
               วัสดุศาสตร์และนวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร์  เซลล์เม็ดเลือดแดงอยู่ แล้วน�ามาแยกเม็ด มะเร็งเต้านมจริงจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ
               มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้คว้าทุนช่วยเหลือ เลือดแดงออกไป โดยในส่วนที่เป็นเม็ดเลือดขาว                             แล้วหากได้ผลตามที่คาดไว้ ผู้วิจัยจะขอ
               ทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์                                                จดสิทธิบัตร  และพัฒนา
               และเทคโนโลยี สาขาเคมี เมื่อ                                            เป็นชุด Test Kit ตรวจวัดตัว
               เร็วๆ นี้ จากโครงการวิจัย เรื่อง                                       เซลล์มะเร็งที่กระจายอยู่ใน
               “การตรวจหาเซลล์มะเร็งที่                                               กระแสเลือดส�าหรับใช้ตาม
               กระจายตัวในกระแสเลือด                                                  โรงพยาบาลต่อไป
               ที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งเต้านม                                              “โครงการวิจัยตรวจหา
               ระยะแพร่กระจาย ด้วยอนุภาคนาโนของ จะมีเซลล์มะเร็งที่แพร่กระจายอยู่ใน                      เซลล์มะเร็งฯ ได้รับทุนสนับสนุนมาจาก
               ทอง และอนุภาคนาโนที่มีคุณสมบัติทาง กระแสเลือดที่ผู้วิจัยต้องการที่จะตรวจจับปน ๒ แหล่งทุนวิจัยหลัก ได้แก่ ศูนย์ CEMB หรือ
               แม่เหล็ก” กล่าวว่า โรคมะเร็งเต้านมในผู้ อยู่ด้วย ซึ่งในการดักจับเซลล์มะเร็งอย่างเดียว ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวการ
               หญิงมีอัตราการตายสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง จ�าเป็นต้องมีการแยกเซลล์เม็ดเลือดขาวออก แพทย์ (Center of Excellence in Medical
               ของการเกิดโรคมะเร็งในประเทศไทย ซึ่ง ไปก่อน โดยใช้อนุภาคนาโนที่มีคุณสมบัติ Biotechnology) และทุนโทเร ซึ่งในการ
               โรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจายเป็นโรคที่ ทางแม่เหล็ก ซึ่งสามารถเปลี่ยนพื้นผิวให้ พัฒนา Test Kit เป็นเรื่องของอนาคต โดยจะ
               มีความหลากหลาย และก่อให้เกิดปัญหากับ                                                                                                 มีแอนติบอดีที่มีความจ�าเพาะกับเซลล์เม็ด ต้องมาพิจารณากันอีกทีว่า ใครจะเป็นผู้ขาย
               ผู้ป่วยเป็นอย่างมาก ดังนั้น การมีกระบวนการ เลือดขาว และแยกเม็ดเลือดขาวออกมาได้  ใครจะเป็นผู้ผลิต แต่โดยส่วนตัวแล้วสนใจที่จะ
               ตรวจหาเซลล์มะเร็งก่อนที่จะพัฒนาไป ขั้นตอนต่อไป ผู้วิจัยจะใช้อนุภาคนาโนของ transfer องค์ความรู้ไปให้ภาคอุตสาหกรรม
               เป็นระยะแพร่กระจายจะช่วยลดปัญหา ทองใส่เข้าไป เพื่อท�าหน้าที่ตรวจจับตัวเซลล์ ท�ามากกว่าที่จะมาเป็นผู้ขาย test kit เอง เพราะ
               ให้กับผู้ป่ วยได้ โดยเทคนิคที่ผู้วิจัยได้ มะเร็งที่กระจายอยู่ในกระแสเลือด แล้วน�า ว่าเรายังมีความเป็น academic อยู่” รศ.ดร.
               คิดค้นขึ้นใหม่ คือ การใช้กระบวนการ มาแยกหาจ�านวนของเซลล์มะเร็ง ซึ่งขณะนี้                   ดาครอง พิศสุวรรณ กล่าวทิ้งท้าย
               ที่เรียกว่า Cell Search ซึ่งเริ่มจากการน�า ยังเป็ นการทดลองในห้องปฏิบัติการ                                                       ภาพรับรางวัลโดย พิมพ์ใจ พัดเย็น



                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18