Page 21 - MU_9Sep62
P. 21
Research Excellence
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
อ.ดร.นพ.ณัฐพล ภาณุพินธุ ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล
คิดค้น Platform Technology ศึกษาการสื่อสารของเซลล์กระดูก
เพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองยา และผลิตภัณฑ์ที่ใช้รักษาภาวะกระดูกพรุน
เสริมที่น�ามาทดสอบว่ามีอะไรเกิด
ขึ้นบ้าง ท�าให้เราจะมองภาพจนจบ
ซึ่งเป็นการใช้วิทยาศาสตร์พื้นฐานไปพัฒนา
เพื่อประโยชน์ของประชาชน โดยมีโจทย์
วิจัยรองรับ”
“คนไทยเป็นโรคกระดูกพรุนกันเยอะ
เนื่องจากเราได้รับสารอาหารที่มีแคลเซียม
เมื่อเร็วๆ นี้ อาจารย์ ดร. นายแพทย์ โดยต้องการทราบกลไกการท�างานของ
ณัฐพล ภาณุพินธุ ภาควิชาสรีรวิทยา เซลล์กระดูกในภาวะเหล่านี้ เทคโนโลยี
และหน่วยวิจัยแคลเซียมและกระดูก คณะ ใหม่นี้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการคัด
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับ กรองยา หรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้รักษาภาวะ
ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์ กระดูกพรุน อีกทั้งได้สารที่ปลอดภัย
และเทคโนโลยี สาขาฟิสิกส์ จากโครงการ ก่อนน�าไปทดสอบในสัตว์ทดลอง และ
วิจัย เรื่อง “การพัฒนาและประยุกต์ใช้ มนุษย์ต่อไป
เทคโนโลยีฐานส�าหรับงานวิจัยด้าน อาจารย์ ดร. นายแพทย์ณัฐพล
กระดูกโดยการผสมผสานการเลี้ยง ภาณุพินธุ กล่าวเพิ่มเติมว่า ในการวิจัย
เซลล์กระดูกสามชนิดเข้าด้วยกันใน การลดลงของมวลกระดูกในโครงงานวิจัย
ระบบที่มีการไหลเวียนของเหลวแบบ นี้ได้มุ่งศึกษาไปที่โรคธาลัสซีเมีย เพราะ
ต่อเนื่อง” โดยได้กล่าวถึงปัจจัยหลาย เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเขตร้อนชื้น และ
ประการที่มีผลเสียต่อมวลกระดูก อาทิ อายุ ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียอยู่
ที่เพิ่มมากขึ้น ภาวะขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน เป็นจ�านวนมาก โดยโรคนี้เกิดจากการ
ในกลุ่มหญิงหมดประจ�าเดือน นอกจาก ที่เม็ดเลือดแดงสร้างฮีโมโกลบินได้ไม่
นี้ การลดลงของมวลกระดูกยังเกี่ยวข้อง สมบูรณ์ ท�าให้การขนส่งออกซิเจนไม่มี ที่ไม่เพียงพอ เพราะฉะนั้นท�าอย่างไร ถึงจะ
กับการเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังบางโรค เช่น ประสิทธิภาพ อีกทั้งยังมีภาวะการสะสม เสริมสร้างมวลกระดูกได้ ซึ่งการออกก�าลัง
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และ ธาตุเหล็กในร่างกายมากเกินไป จนไป กายช่วยท�าให้เรามีสุขภาพร่างกายที่แข็ง
โรคธาลัสซีเมีย โดยการทดสอบประสิทธิภาพ กระทบต่อการท�างานของเซลล์ต่างๆ แรง เราต้องพยายามท�าให้กระดูกมีการ
ของสารที่ผ่านมามักท�าในระบบนิ่งที่มีเซลล์ ซึ่งรวมถึงเซลล์กระดูก โดยทางหน่วย ใช้งานอย่างสม�่าเสมอ โดยให้ร่างกาย
วิจัยแคลเซียมและกระดูก ได้พิสูจน์ ได้มีการขยับเคลื่อนไหว ไม่เช่นนั้น
แล้วในหนูทดลองที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย เราก็จะสูญเสียมวลกระดูก ซึ่งจะเพิ่ม
พบว่ามีกระดูกบางลง ซึ่งโครงงานวิจัยนี้ ความเสี่ยงในการเกิดกระดูกหักท�าให้
เป็นการศึกษาการสื่อสารของเซลล์กระดูก ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ และเป็ นภาระ
เพื่อศึกษาการเกิดโรคกระดูกพรุนในภาวะ แก่ผู้ดูแลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ
ภาวะการสะสมธาตุเหล็กในร่างกายมาก และสังคมโดยรวม นอกจากนี้ ปัจจุบัน
เกินไปในโรคธาลัสซีเมีย ซึ่งตัวเองได้เป็น การรักษาโรคกระดูกพรุนยังมีข้อจ�ากัด
ผู้คิดค้นวิธีวิจัยขึ้นใหม่ โดยการเลี้ยงเซลล์ เนื่องจากยาที่ใช้ไม่มีประสิทธิภาพดีพอ หรือ
เพียงชนิดเดียว ซึ่งไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นจริง กระดูก 3 ชนิด ซึ่งได้แก่ Osteocyte (เซลล์ ลดประสิทธิภาพลงเมื่อใช้ในระยะยาวยา
ภายในกระดูกจริง เพราะกระดูกประกอบ กระดูกรับแรง) Osteoblast (เซลล์กระดูก บางชนิดยังมีผลข้างเคียงจนท�าให้ต้องยุติ
ด้วยเซลล์หลายชนิดที่ถูกกระตุ้นด้วยแรง สร้างคอลลาเจน) และ Osteoclast (เซลล์
ภายนอกตลอดเวลา ดังนั้นโครงงานวิจัยนี้ สลายกระดูก) เข้าด้วยกันโดยใช้เทคโนโลยี การรักษา ซึ่งการรักษาเมื่อเป็นโรคแล้ว
จึงน�าเสนอวิธีการศึกษาแบบใหม่โดยใช้ ฐาน (Platform Technology) ที่มีระบบขับ หรือเมื่อเกิดกระดูกหักเหมือนการรักษา
ที่ปลายเหตุ การรักษาโรคกระดูกพรุนที่
เทคโนโลยีฐาน (Platform Technology) เคลื่อนของเหลวแบบต่อเนื่อง ดีกว่าการรักษาก็คือการป้องกัน โดยการ
ที่มีระบบขับเคลื่อนของเหลวแบบต่อ “ปัจจุบันยังไม่มีการวิจัยโดยเลี้ยง รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมในปริมาณ
เนื่อง ท�าให้เซลล์กระดูกสามารถสื่อสาร กระดูก ๓ เซลล์นี้ไปด้วยกัน ในระบบ ที่เหมาะสม ควบคู่กับการออกก�าลังกาย
กันได้โดยตรง โดยช่วงแรกจะเป็นการ เดียวกัน ซึ่งถ้าได้ผลดี เราอยากที่จะให้ เป็นสิ่งที่เราพยายามรณรงค์ให้กับคนไทย
ทดสอบระบบด้วยยาที่ใช้อยู่ในคลินิก เพื่อ Platform Technology ที่เราคิดค้นขึ้นนี้ มาโดยตลอด” อาจารย์ ดร. นายแพทย์
รักษาภาวะกระดูกพรุนโดยใช้เทคนิคที่ไม่ สามารถบอกการท�างานของเซลล์ ณัฐพล ภาณุพินธุ กล่าวทิ้งท้าย
ซับซ้อนได้ผลแม่นย�า ช่วงที่สองจะเป็นการ กระดูกและยาที่ใช้รักษาในบริบทที่
ทดสอบการท�างานของเซลล์กระดูกโดย เหมือนจริง อีกทั้งยังสามารถทราบ
จ�าลองภาวะที่เกิดในโรคที่ได้กล่าวข้างต้น ถึงผลข้างเคียงจากยา และอาหาร
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 21