Page 25 - MU_9Sep62
P. 25
Information
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย ม.มหิดล
น�าชมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรกับการจัดการท่องเที่ยวชุมชนคลองมหาสวัสดิ์
เมื่อเร็วๆ นี้ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม จุดที่ ๑ นาบัวลุงแจ่ม ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล จัดโครงการส่งเสริม จุดที่ ๒ ข้าวตังและวิสาหกิจชุมชน กลุ่ม ฟักข้าว เป็นพืชที่อุดมไปด้วยคุณประโยชน์
ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การ แม่บ้านเกษตรกรคลองมหาสวัสดิ์ มากมาย โดยในเยื่อหุ้มเมล็ดฟักข้าวอุดมไปด้วย
จัดการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน” ณ ห้อง จุดที่ ๓ บ้านฟักข้าว ขนิษฐา พินิจกุล สารไลโคปีน ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ มีฤทธิ์ต้าน
สุวรรณภูมิ อาคารเรือนไทย มหาวิทยาลัยมหิดล และจุดที่ ๔ บ้านป้าแจ๋ว (สวนผลไม้อินทรีย์ มะเร็ง ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย ช่วยลดความ
ศาลายา และพื้นที่ท่องเที่ยวชุมชนคลองมหาสวัสดิ์ คุณบุญเลิศ เศรษฐอ�านวย แหล่งเรียนรู้เกษตร เสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ และอุดมไป
โดยมี ดร.จิติกานต์ จินารักษ์ นักวิชาการวัฒนธรรม ผสมผสาน) ด้วย เบต้าแคโรทีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของวิตามิน
เป็นผู้ด�าเนินโครงการฯ จากแนวคิดที่ว่า “ชุมชน จุดที่ 1 : นาบัวลุงแจ่ม ติดต่อ : คุณขนิษฐา พินิจกุล กลุ่มแปรรูป
เข้มแข็งได้ด้วยภูมิปัญญา” กล่าวต้อนรับโดย ที่อยู่ : 61 หมู่ 3 ต�าบลมหาสวัสดิ์ อ�าเภอพุทธ ผลิตภัณฑ์จากฟักข้าวเกษตรพัฒนา โทร.
รองศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์ มณฑล จังหวัดนครปฐม ๐๘-๑๙๐๒-๔๕๑๖
ผู้อ�านวยการสถาบันฯ เป็นแปลงเกษตรพื้นที่ของ พระบาทสมเด็จ จุดที่ ๔ : สวนผลไม้อินทรีย์ ๓๖ ไร่ของ
โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นโครงการ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ พระราชทานแก่ คุณบุญเลิศ เศรษฐอ�านวย
ที่ได้รับความร่วมมือจากปราชญ์ชุมชนต�าบลคลอง ประชาชนเพื่อใช้ประกอบอาชีพ มีพื้นที่ประมาณ ที่อยู่ : ๙๗ หมู่ ๑ ต�าบลศาลายา อ�าเภอ
มหาสวัสดิ์ ต�าบลคลองโยง และต�าบลศาลายา มาร่วม ๑๕ ไร่ นาบัวแห่งนี้ใช้เป็นแปลงสาธิตและถ่ายทอด พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
เผยแพร่ความรู้จากการจัดการท่องเที่ยวจาก เทคโนโลยีการเกษตรประจ�าต�าบล โดยถือเป็น พบกับ “ป้าแจ๋ว” จงดี เศรษฐอ�านวย
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามบริบทวัฒนธรรม และ พืชเศรษฐกิจที่ท�ารายได้ให้เกษตรกรบ้านศาลา (ลูกสาวของคุณบุญเลิศ) ผู้น�ากลุ่มแม่บ้านและ
สิ่งแวดล้อมของชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการ ดินได้เป็นอย่างดี ซึ่งบัวส่วนใหญ่ที่ปลูกเป็น บัว เกษตรกรบ้านศาลาดินที่เป็นตัวตั้งตัวตีในการท�า
น�าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างสรรค์อาชีพด้าน สัตตบงกชสีชมพู ที่ใช้ไหว้พระ ไม่มีเมล็ดบัวให้ เกษตรอินทรีย์ พัฒนาต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์แปรรูป
การท่องเที่ยว ซึ่งสามารถน�ามาเป็นต้นแบบให้กับ กินเหมือนบัวหลวง ณ จุดนี้ นักท่องเที่ยวสามารถ ชิม “เมี่ยงค�าบัวหลวง” ที่ใช้กลีบดอกบัวหลวง
บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่า เครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์ สัมผัสกิจกรรมพายเรือเก็บดอกบัว ได้เรียนรู้วิธีการ ปลอดสารพิษห่อแทนใบชะพลู กับเครื่องเมี่ยงค�า
และบุคคลทั่วไป ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้มุมมอง ปลูกบัว วิธีการตัดแต่ง วิธีการเก็บบัวขาย ตลอดจน เช่น มะพร้าวคั่ว กุ้งแห้ง ฯลฯ ที่ใช้วัตถุดิบคัดสรรมา
การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยความภาค เรียนพับบัว นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์แปรรูปจากบัว เป็นอย่างดี โดยไฮไลต์ของที่สวนแห่งนี้ คือ “อีแต๋น
ภูมิใจ สู่การสร้างสรรค์เศรษฐกิจชุมชนด้วย เช่น น�้าเกสรดอกบัว ชาจากเกสรดอกบัว ดอกบัวปั้น สิงห์คะนองนา พาชมสวน” ซึ่งป้าแจ๋วการันตีว่า
การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทั้งชุมชน ดินญี่ปุ่น พืชผัก ผลไม้ตามฤดูกาลจ�าหน่าย “ไม่เสียว ไม่หัวเราะ ยินดีคืนเงิน”
เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ติดต่อ : คุณประไพ สวัสดิ์โต (ป้าติ๋ว) เจ้าของ เดิมสวนคุณบุญเลิศ เศรษฐอ�านวย เป็นแหล่ง
กิจกรรมในช่วงเช้า เริ่มด้วยการเสวนาในหัวข้อ นาบัวลุงแจ่ม โทร. ๐๘-๗๘๒๘-๑๘๙๒ ผลิตส้มโอคุณภาพส่งออกต่างประเทศ ๕ สายพันธุ์
“ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การจัดการท่องเที่ยวชุมชน จุดที่ ๒ : ข้าวตังและวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ ส้มโอขาวทองดี ขาวน�้าผึ้ง ขาวหอม ขาว
อย่างยั่งยืน” วิทยากรโดย ก�านันอาภรณ์ ช้อยประเสริฐ ที่อยู่ : ๕๘/๒ หมู่ ๓ บ้านศาลาดิน ต�าบลมหา แป้น และขาวพวง แต่จากเหตุการณ์น�้าท่วมปี พ.ศ.
แห่งต�าบลคลองมหาสวัสดิ์ “ป้าแจ๋ว” จงดี เศรษฐอ�านวย สวัสดิ์ อ�าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๒๕๕๔ ท�าให้ส้มโอไม้ผลสร้างชื่อของคุณบุญเลิศ
ปราชญ์ชุมชนต�าบลศาลายา ร่วมด้วย คุณชญาทัต เกิดจากการรวมกลุ่มของแม่บ้านเกษตรกรคลอง เสียหายรากเน่าตายจนหมด จนปัจจุบันนี้สามารถ
เนียมแสวง นักวิชาการท้องถิ่นต�าบลคลองโยง ซึ่งได้ มหาสวัสดิ์ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ฟื้นฟูพื้นที่และปลูกส้มโอได้เพียง ๒ สายพันธุ์
เล่าถึงความเป็นมาของคลองมหาสวัสดิ์ว่า เป็นคลอง ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ได้แก่ ขาวน�้าผึ้ง และทองดี นอกจากนี้จึงต้อง
สายประวัติศาสตร์เส้นส�าคัญที่ พระบาทสมเด็จ จนกลายเป็นต้นแบบให้หลายหน่วยงานเข้ามาศึกษา เสริมด้วยการปลูกพืชผลที่โตเร็ว เช่น กล้วยน�้าว้า
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงโปรดเกล้าฯ ดูงาน เพื่อน�าวิธีการจัดการไปต่อยอดและพัฒนา กล้วยหอมทอง กล้วยไข่ มะม่วง ขนุน ฝรั่ง สมุนไพร
ให้ขุดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๔ เพื่อเชื่อมระหว่างแม่น�้า ในชุมชนของตนเอง ซึ่งผลิตภัณฑ์เด่น ได้แก่ พืชผักสวนครัว ฯลฯ เพื่อที่จะสร้างรายได้ และลด
เจ้าพระยากับแม่น�้าท่าจีน ให้ใช้เป็นเส้นทางเสด็จ ข้าวตังหอมมะลิหน้าหมูหยอง และหน้า ค่าใช้จ่าย เป็นการเกษตรแบบผสมผสาน
พระราชด�าเนินนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ โดยพระองค์ ธัญญพืช โดยได้มีการสอนวิธีการท�าข้าวตัง ติดต่อ : คุณจงดี เศรษฐอ�านวย (ป้าแจ๋ว)
ท่านได้พระราชทานนามว่า “มหาสวัสดี” ชาวบ้านใน ไข่เค็ม กล้วยตาก และดินพร้อมปลูกจากผักตบชวา ผู้แทนวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลไม้ต�าบลศาลายา
ชุมชนคลองมหาสวัสดิ์ส่วนใหญ่เป็นคนไทยเชื้อสาย ให้แก่นักท่องเที่ยวอีกด้วย และ สวนผลไม้ฯ ลุงบุญเลิศ โทร. ๐๘-๙๐๕๗-๑๓๒๑
จีน อาชีพท�าการเกษตร ท�าสวนผลไม้ ตั้งบ้านเรือน ติดต่อ : คุณวันชัย สวัสดิ์แดง ผู้แทนชุมชน การเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางในครั้งนี้
อยู่ริมน�้า หรืออยู่ตามเรือกสวนไร่นา คลองแห่งนี้จึง บ้านศาลาดิน และรองประธานกลุ่มแม่บ้าน จากมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ใช้เส้นทาง
เปรียบเสมือนน�้าหล่อเลี้ยงชุมชนมานับร้อยปี เกษตรกรมหาสวัสดิ์ โทร. ๐๘-๑๔๙๘-๖๓๔๐, “ศาลายา – นครชัยศรี” ตรงไปทางแมคโคร ศาลายา
คลองมหาสวัสดิ์ มีแหล่งท่องเที่ยวทาง ๐-๓๔๒๙-๗๐๙๙ อีกประมาณ ๕.๕ กิโลเมตร ถึงปั๊ม ปตท. จะมี
ธรรมชาติที่น่าสนใจมากมายหลายจุด โดยตั้งแต่ จุดที่ ๓ : บ้านฟักข้าว ขนิษฐา พินิจกุล ป้ายบอกทางไปยังคลองมหาสวัสดิ์ พอข้ามทาง
ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ที่เกิดเศรษฐกิจตกต�่าจากภาวะฟอง ที่อยู่ : ๓๑/๗ หมู่ ๓ ต�าบลมหาสวัสดิ์ อ�าเภอ รถไฟแล้วให้เลี้ยวขวา และตรงต่อไปจนถึงวัด
สบู่แตก ชาวบ้านในชุมชนได้รวมตัวกันช่วยพัฒนา พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม สุวรรณาราม จะพบป้ายจุดล่องเรือชมคลอง
เรื่องการท่องเที่ยว แม้จะต้องหยุดชะงักไปบ้างในปี เปิดให้นักท่องเที่ยวได้ชมสวนฟักข้าว และเรียน มหาสวัสดิ์ โดยสามารถจอดรถไว้ที่บริเวณวัดได้
พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่ประสบภัยน�้าท่วมครั้งใหญ่ ท�าให้ รู้การแปรรูปฟักข้าวเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น สบู่ สอบถามรายละเอียดท่องเที่ยวชุมชน
บ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาเสียหาย แต่ก็ ยาสระผม ลิ้มชิมรสเมนูจากฟักข้าว เช่น น�้าฟักข้าว คลองมหาสวัสดิ์ได้ที่ ผู้ใหญ่มนูญ นราสดใส
สามารถฟื้นตัวได้ในเวลาต่อมา คุกกี้ฟักข้าว หมี่กรอบฟักข้าว น�้าซอสเย็นตาโฟ ประธานวิสาหกิจชุมชนการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
กิจกรรมในช่วงบ่ายเป็นการเดินทางถึงพื้นที่ ฟักข้าว โดยมี “แม่จิ๋ม” แห่งลุ่มน�้ามหาสวัสดิ์ ร้อง ล่องเรือชมสวนเลียบคลองมหาสวัสดิ์ โทร.
ท่องเที่ยวชุมชนคลองมหาสวัสดิ์ เรียนรู้พื้นที่จริงโดย แหล่ขับกล่อมบอกเล่าเรื่องราวของคลองมหาสวัสดิ์ ๐๘-๑๔๙๕-๙๐๙๑
ทางเรือ เพื่อเข้าชมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร ให้ฟังกันเพลินๆ แม่จิ๋มเล่าด้วยความภาคภูมิใจว่า
กับ การจัดการท่องเที่ยวของชุมชนคลอง เป็นบทเพลงที่ประพันธ์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ขอขอบคุณภาพจาก RILCA
มหาสวัสดิ์ โดยกิจกรรมแบ่งเป็น ๔ จุดด้วยกัน คือ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล อดีตคณบดีคณะ
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 25