Page 20 - MU_9Sep62
P. 20
Harmony in Diversity
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
ศูนย์การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสุขภาพ (LogHealth) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล
ติดปีกโรงพยาบาลยุคดิสรัปชั่น จัดสัมมนารวมพลังโรงพยาบาลต้นแบบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงพรรณ ยาที่จ่ายไปได้หมด ไม่ว่าอยู่โรงพยาบาล
ศฤงคารินทร์ รักษาการหัวหน้าศูนย์การจัด ไหน อยู่ส่วนไหนของโรงพยาบาล หรืออยู่
การโลจิสติกส์และ ส่วนไหนของประเทศไทย โดยระบบทั้งหมด
โซ่อุปทานสุขภาพ จะประกอบเข้าด้วยกันกลายเป็น Big Data
(LogHealth) คณะ ซึ่งเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่สร้างจากงาน
วิศวกรรมศาสตร์ วิจัยที่เราท�ามาประมาณเกือบ ๘ ปี โดยจะ
มหาวิทยาลัย สามารถใช้เป็นข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสิน
มหิดล กล่าวว่า ใจเชิงนโยบายได้”
เมื่อวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ โรงแรม “ตอนนี้เทคโนโลยี “สัมมนาที่จัดขึ้นในครั้งนี้ เป็นการรวมรุ่น
ริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ศูนย์การจัด โลจิสติกส์ก�าลังจะ บุคลากรโรงพยาบาล ซึ่งทาง LogHealth ได้
การโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสุขภาพ มาในยุคของดิสรัปชั่น ปกติแล้วเราจะมอง ด�าเนินโครงการจัดอบรม Train The Trainer
(LogHealth) คณะวิศวกรรมศาสตร์ โลจิสติกส์ในเรื่องของการเคลื่อนย้ายจัดเก็บ เพื่อให้ความรู้เรื่องโลจิสติกส์แก่บุคลากรใน
มหาวิทยาลัยมหิดล ติดปีกโรงพยาบาล ของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ แต่ในยุคดิสรัปชั่น สิ่ง โรงพยาบาลมาเป็นเวลาเกือบ ๕ ปีแล้ว โดย
ยุคดิสรัปชั่น จัดสัมมนารวมพลังโรง ที่ก�าลังจะมาก็คือการเคลื่อนย้าย จัดเก็บ เราสามารถผลิตบุคลากรโรงพยาบาลด้านโล
พยาบาลต้นแบบในกรุงเทพฯ และต่าง ข้อมูล โดยเรื่อง Information Technol- จิสติกส์ออกไปประมาณ ๕๐ โรงพยาบาล ซึ่ง
จังหวัด อบรมโลจิสติกส์สุขภาพ แลก ogy ก�าลังจะเข้ามาแทนที่ ซึ่งท�าให้แต่ละ งานที่จัดขึ้นนี้จะท�าให้บุคลากรจากทั้ง ๕๐ โรง
เปลี่ยนเรียนรู้เทคโนโลยีด้านระบบวิศว องค์กรต้องมีการปรับตัวตามเทคโนโลยี พยาบาลนี้ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและ
กรรมโลจิสติกส์ เพื่อแก้ปัญหาและยก ให้ทัน” กัน เพื่อให้รุ่นพี่รุ่นน้องได้มาคุยกันว่าเอาไป
ระดับการบริหารจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพ “ความต้องการของบุคลากรด้านโลจิสติ ท�าแล้วเป็นอย่างไร หรือจะปรับปรุงต่อไป
การบริการประชาชนและความถูกต้องแม่นย�า กส์ในปัจจุบันยังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่จะมีการ ในอนาคตได้อย่างไร” รศ.ดร.ดวงพรรณ
ขยายผลพัฒนาโรงพยาบาลทั่วประเทศ ปรับเปลี่ยนจากความต้องการบุคลากรด้าน ศฤงคารินทร์ กล่าว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ การท�างานระดับปฏิบัติการ (operation) มา ด้าน รองศาสตราจารย์ นายแพทย์
ศุทธากรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นในระดับบริหาร (management) แล้ว เชิดชัย นพมณีจ�ารัสเลิศ รองผู้อ�านวยการ
มหาวิ ทยาลัย ก็เป็นเรื่องของ Technology Manage- โรงพยาบาลศิริราช
มหิดล กล่าวว่า ment มากขึ้น โดยที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ กล่าวว่า “เนื่องจาก
“มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มีการเรียนการสอน โรงพยาบาลศิริราช
มหิดลมีความ ระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ) เกี่ยวกับ เป็นโรงพยาบาล
เข้มแข็งทางด้าน โลจิสติกส์ ๒ หลักสูตร คือ หลักสูตร ขนาดใหญ่ที่มีผู้
การแพทย์และ แรก เป็นหลักสูตรปริญญาโทวิศวกรรม ป่วยค่อนข้างแออัด
สาธารณสุ ข อุตสาหการ ที่เน้นการเรียนเรื่อง Engi- โดยมีจ�านวนผู้
โ ด ย ค ณ ะ neering เพื่อไปแก้ปัญหาด้านโลจิสติกส์ ป่ วยนอกต่อวัน
วิศวกรรมศาสตร์มุ่งใช้ศาสตร์ต่างๆ ทางด้าน กับอีกหลักสูตรที่เรียนด้านโลจิสติกส์ ประมาณ ๘,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ คน เพราะ
วิศวกรรมศาสตร์มาช่วยในการขับเคลื่อน โดยตรง แต่จะเน้นไปในเชิง Engineer- ฉะนั้นระบบโลจิสติกส์ก็จึงเป็นเรื่องที่ส�าคัญ
การท�างานด้านดังกล่าว ซึ่งศาสตร์หนึ่งที่ ing Management โดยใช้ชื่อหลักสูตรว่า มาก ซึ่งแนวคิดการใช้โลจิสติกส์ของโรง
ส�าคัญคือ การใช้องค์ความรู้ทางด้านโลจิสติ Logistics Management” พยาบาลศิริราช คือท�าอย่างไรจะให้ผู้
กส์ โดยศูนย์ LogHealth มีความเชี่ยวชาญ “ตอนนี้สิ่งที่เรามุ่งเน้นในด้านโลจิสติ ป่วยได้รับบริการได้อย่างรวดเร็ว และ
และสามารถใช้ความรู้ประสบการณ์วิจัย กส์ ก็คือ Healthcare Engineering โดย ปลอดภัย ด้วยต้นทุนที่ถูกที่สุด แต่มี
ด้านโลจิสติกส์สุขภาพ (Health Care Logis- เราจะประยุกต์ระบบโลจิสติกส์เข้าไป ประสิทธิภาพ โดยได้มีการพัฒนาระบบโล
tics) ในการท�างานร่วมกับบุคลากรสายการ แก้ปัญหาระบบสาธารณสุข ซึ่งจะเป็น ๒ จิสติกส์หน่วยขนส่งกลางในโรงพยาบาลร่วม
แพทย์ จนสามารถขยายออกไปในวงกว้าง ระดับ ได้แก่ ระดับแมคโคร กับระดับไมโคร กับศูนย์ LogHealth เพื่อลดกระบวนการ
สู่ระบบสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลต่างๆ ระดับแมคโครจะมีการใช้โลจิสติกส์ในการ ระบบขนส่งแบบเดิม มีการพัฒนาระบบ
ของประเทศได้ ซึ่งโลจิสติกส์สุขภาพเป็น แก้ปัญหาของระบบสาธารณสุขระดับชาติ Patient Flow Management เพื่อควบคุมการ
หนึ่งในเป้าหมายหลักของเรา นอกจาก ส่วนระดับไมโครจะเป็นโลจิสติกส์ที่เข้าไป ไหลเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วย และพัฒนา
การผลักดันในเรื่องนวัตกรรมเครื่องมือ แก้ปัญหาในระดับโรงพยาบาล โดยตอน ระบบ Siriraj Connect ซึ่งเป็นแอปพลิเค
แพทย์ ตลอดจนการสร้างองค์ความรู้ นี้เราก�าลังท�าฐานข้อมูลยาระดับชาติ ชันที่ผู้ป่วยสามารถติดตามคิวตรวจด้วย
เพื่อการสนับสนุนด้านการแพทย์และ ร่วมกับ อย. สร้างเป็นฐานข้อมูลยาและ ตัวเองแบบเรียลไทม์ผ่านโทรศัพท์มือถือ
สาธารณสุข โดยเป็น impact ขนาดใหญ่ เวชภัณฑ์ระดับชาติบรรจุข้อมูลยาต่างๆ นอกจากนี้ผู้ป่วยสามารถช�าระเงินผ่านแอป
ที่ท�าให้ทั้งการใช้จ่ายงบประมาณ และ เข้าไป มีการสร้างระบบซื้อขายแลกเปลี่ยน ได้เลย ซึ่งคาดว่าจะเริ่มให้บริการได้ประมาณ
การบริหารจัดการเรื่องสาธารณสุขสู่ ทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง ต้นเดือนตุลาคม ๒๕๖๒”
ประชาชนของประเทศไทยเราดีขึ้น ส่ง ซัพพลายเออร์กับโรงพยาบาล นอกจากนี้ เรา
เสริมให้การแพทย์และสาธารณสุขของ สร้างได้สร้างระบบ Traceability ติดตามและ
ประเทศมีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น” สอบย้อนกลับยา ที่ท�าให้เราสามารถติดตาม
20 September 2019 M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership