Page 5 - MU_6June63
P. 5

Special Scoop
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม

               ม.มหิดล เตรียมผลักดันโครงการ University-Industry Collaboration (UIC)

                     ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์โลกยุคดิสรัปชั่น
















                ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ   ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์   ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ภัทรชัย กีรติสิน  รองศาสตราจารย์ ดร.กภ.จารุกูล ตรีไตรลักษณะ
                 รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล  อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า  ผู้อ�านวยการสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยี  คณบดีคณะกายภาพบ�าบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
                                          เจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL)   และนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล (iNT)
                  การศึกษาด้านกายภาพบ�าบัด ถือเป็น ทางกายภาพบ�าบัด โดยเป็นครั้งแรกที่จัด  ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ ภัทรชัย
               ความหวังส�าคัญของการสร้างนวัตกรรม ขึ้นในรูปแบบของ Semi-virtual Symposium  กีรติสิน อธิบายว่า หลักการ Build -
               เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยในโลก                          เผยแพร่ผ่านระบบออนไลน์ เพื่อลดความ Measure - Learn  มีแนวคิดมาจากเรื่อง
               ยุคดิสรัปชั่น เนื่องจากเป็นวิชาชีพที่มีความ เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส  “Lean Startup” ซึ่งเป็นการใช้ทรัพยากร
               เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และ Covid – 19 ด้วยการจัดที่นั่งแบบเว้นระยะห่าง ตามความจ�าเป็น ใช้เวลาน้อย ไม่ลงทุน
               ฟื้นฟูสุขภาพ และสมรรถภาพร่างกาย ทางกายภาพ (Physical Distancing) ภายใน ครั้งเดียวมากๆ แต่ช่วยพัฒนาผลงานให้
               ของผู้ป่ วย โจทย์วิจัยจึงตั้งขึ้นตามความ ห้องประชุม           มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้เรื่อย และทันต่อ
               ต้องการของผู้ป่วยโดยตรง โดยเฉพาะผู้ป่วย  ศาสตราจารย์  นายแพทย์บรรจง  กระแสความต้องการของผู้ใช้และสังคม
               ในกลุ่มสูงอายุที่มีมากขึ้นตามแนวโน้มของ มไหสวริยะ  รักษาการแทนอธิการบดี ซึ่งเป็นหัวใจส�าคัญของการสร้างสรรค์
               สภาวการณ์ของสังคมที่เปลี่ยนไป  มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะประธานเปิดงาน  นวัตกรรมในโลกยุคดิสรัปชั่น
                  ท่ามกลางปัญหาความขาดแคลนนัก กล่าวว่า “นวัตกรรม” (Innovation) คือการแก้  เร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย สถาบัน
               กายภาพบ�าบัดที่ไม่เพียงพอต่อความ ปัญหาที่เกาะกระแสโจทย์ต่างๆ ที่ท้าทายที่ บริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
               ต้องการของสังคมไทย ซึ่งในจ�านวนประชากร เกิดขึ้นในสังคม ด้วยความคิดนอกกรอบผ่าน มหาวิทยาลัยมหิดล (iNT) จะริเริ่มด�าเนิน
               ทั้งหมดประมาณ ๗๐ ล้านคน ประเทศไทยมี การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ  โครงการ University-Industry Collaboration
               นักกายภาพบ�าบัดจ�านวนเพียงประมาณ                                                              ตอบสนองความต้องการของสังคมได้อย่าง (UIC) ซึ่งจะเป็นการร่วมมือกันระหว่าง
               ไม่ถึงหนึ่งหมื่นคน ในขณะที่สถาบันการศึกษา แท้จริง             มหาวิทยาลัยมหิดลกับภาคอุตสาหกรรม
               กายภาพบ�าบัดในประเทศไทยมีจ�านวนทั้งสิ้น  ในการประชุมวิชาการครั้งนี้ ศาสตราจารย์  ให้มีการเริ่มต้นคิดโจทย์วิจัยร่วมกัน เพื่อให้
               เพียง ๑๖ แห่ง โดย มหาวิทยาลัยมหิดล  ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบัน ทันต่อความต้องการของตลาดใน ๔ ด้าน
               เป็นสถาบันแรกที่มีการเรียนการสอนด้าน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร คือ เครื่องมือแพทย์ (Medical Devices)
               กายภาพบ�าบัด นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๘  ลาดกระบัง (KMITL) ได้ให้เกียรติเสวนาหัวข้อ                                                             Medical AI (ปัญญาประดิษฐ์ทางการ
               โดยปัจจุบันเป็ นก�าลังส�าคัญในการ “Innovation in Physical Therapy: Disruptive  แพทย์) Medical Food (อาหารทางการ
               ผลิตบัณฑิตกายภาพบ�าบัด ทั้งในระดับ World” โดยกล่าวว่า แรงบันดาลใจ (Passion)                                                                              แพทย์) และ คุณภาพชีวิต (Quality of Life)
               ปริญญาตรี โท เอก เพื่อรับใช้สังคมไทย คือจุดเริ่มต้นของการริเริ่มสร้างสรรค์นวัตกรรม  โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ ที่ก�าลัง
               มาร่วม ๕๕ ปี                   โดยมีอุปสรรคและคู่แข่งขันเป็นความท้าทาย  เป็นประเด็นเร่งด่วนของสังคมไทยในปัจจุบัน
                  รองศาสตราจารย์ ดร.กภ.จารุกูล                                                         สิ่งส�าคัญที่สุด คือ ต้องท�าด้วยหัวใจ และ  “สิ่งที่มหาวิทยาลัยมหิดลอยากจะ
               ตรีไตรลักษณะ คณบดีคณะกายภาพบ�าบัด  จริยธรรม                   เห็นในการพัฒนานวัตกรรมทางด้าน
               มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า คณะฯ   ร่วมด้วย ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ กายภาพบ�าบัดในโลกยุคดิสรัปชั่น คือ
               ได้เล็งเห็นความส�าคัญในการสร้างความ ภัทรชัย กีรติสิน ผู้อ�านวยการสถาบันบริหาร   Deep Tech ซึ่งเป็นการพัฒนาเครื่องมือ
               เข้มแข็งในด้านการวิจัย จึงได้จัดประชุม จัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัย ที่จ�าเป็นที่ใช้เทคโนโลยีที่สามารถน�าไปใช้
               วิชาการระดับนานาชาติ เพื่อเป็นเวที มหิดล (iNT) ที่มาร่วมแลกเปลี่ยนความคิด ช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
               ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทาง เห็นในประเด็นแนวคิดเพื่อการสร้างสรรค์ ตรงจุด ซึ่งต้องลงทุนสูง จึงจ�าเป็นต้องมีการ
               วิชาการทางด้านกายภาพบ�าบัด โดยใน นวัตกรรมในโลกยุคดิสรัปชั่น ด้วยหลักส�าคัญ ๓  วางแผนการตลาดล่วงหน้า ด้วยการตกลง
               ปีนี้จัดขึ้นเป็นปีที่ ๘ โดย ๒ ปีที่ผ่านมาจัด ประการ คือ “Build” หรือ การสร้างขึ้นมาจากการ                                                                                                                    กันระหว่างฝ่ายวิจัย และฝ่ายการตลาด
               ร่วมกับ ภาควิชากายภาพบ�าบัด คณะสห คิด วิเคราะห์ วิจัย “Measure” หรือ การทดลอง ตั้งแต่เริ่มต้น”
               เวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ  ใช้และประเมิน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ รับฟัง              “เชื่อว่านักกายภาพบ�าบัด คือ “นวัตกร”
               ภาควิชากายภาพบ�าบัด คณะสหเวชศาสตร์  feedback ต่างๆ และ “Learn” หรือ การปรับปรุง                                                                                                                    (Innovator) โดยสายเลือด ถึงเวลาแล้วที่จะ
               มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์          ต่อยอดจากสิ่งที่ได้เรียนรู้หรือจากการ                                         ต้องพัฒนานวัตกรรมโดยให้ความส�าคัญ
                  ประชุมวิชาการและวิจัย The                                      ประเมินที่ได้รับ ซึ่งอาจจะน�ากลับไป “Build”                                                                                                                        ในเชิงพาณิชย์ด้วย เพื่อเป็นการต่อยอด
               International Physical Therapy Research  ใน version ใหม่ที่ดีขึ้นเป็นวงจรเช่นนี้ไปเรื่อยๆ                            ที่ตอบโจทย์ประโยชน์ของประชาชน และ
               Symposium 2020 (IPTRS 2020) ปีนี้จัดใน จนได้ผลงานที่เป็นที่ต้องการของตลาดอย่าง การพัฒนาวิชาชีพนักกายภาพบ�าบัดที่ยั่งยืน
               หัวข้อ “Innovation in Physical Therapy”  แท้จริง บางผลิตภัณฑ์อาจต้องผ่านวงจร                           ต่อไป” ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์
               วัตถุประสงค์เพื่อการสร้างเครือข่าย และแลก นี้หลายรอบ หรือวนเช่นนี้ไปแม้ว่าผลิตภัณฑ์ ภัทรชัย กีรติสิน กล่าวทิ้งท้าย
               เปลี่ยนเทคโนโลยีด้านการสร้างนวัตกรรม นั้นจะได้น�าไปใช้จริงแล้วก็ตาม             มหิดลสาร ๒๕๖๓       5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10