Page 16 - MU_5May63
P. 16

รวมข่าวและบทความ Covid-19
             ฐิติรัตน์ เดชพรหม



                    ม.มหิดล ชี้รังสี UV ฆ่าเชื้อไวรัส Covid-19 ได้ หากใช้ถูกวิธี



                  รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ                                                                                                                  ๒๐๐ – ๓๑๓ นาโนเมตร โดยค่าที่ดี
               แสง UV เป็นสเปกตรัมของคลื่น                                                                  ที่สุดอยู่ที่ ๒๖๐ นาโนเมตร
               แม่เหล็กไฟฟ้า  ซึ่งมีความถี่ที่                           ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภา
               สูงกว่าช่วงของแสงที่ตาเรามองเห็น พงษ์  พงษ์นภางค์ กล่าวต่อไป
               ได้ปรกติ โดยแสง UV-C เป็นแสง                                                                   ว่า ไวรัสแต่ละชนิดมีความทนต่อ
               UV  ที่มีประสิทธิภาพสูงในการ ยูวีต่างกัน  ซึ่งการท�าลายเชื้อ
               ก�าจัดสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กหรือเชื้อ จะเกิดขึ้นเวลาที่ตัวรังสี  UV
               โรคต่างๆ  ทั้งนี้  การใช้แสง  UV                                              เข้าไปตกกระทบกับตัวไวรัส
               แม้จะสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ดี แต่ แล้วไปท�าลายโครงสร้ างของ     เป็นอันตรายต่อผิว  และดวงตา
               ต้องระมัดระวังหากน�าไปใช้ไม่ถูกวิธี ตัวไวรัส  ท�าให้ไม่สามารถที่จะ  ซึ่งหากแสงส่องโดนผิวหนังโดยตรง
               อาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้ โดย จ�าลองตัวเอง  เพื่อที่จะขยาย   อาจท�าให้เซลล์ผิวหนังถูกท�าลาย
               เฉพาะอย่างยิ่ง ไม่แนะน�าให้ใช้แสง  จ�านวนได้ต่อไป เป็ นการท�าให้  และมีโอกาสเป็นมะเร็งผิวหนัง
               UV ในการฆ่าเชื้อโรคบนร่างกาย เชื้อตาย  โดยที่ต้องใช้พลังงาน   และหากแสงสาดเข้ามาในดวงตา
               มนุษย์                         จ า ก รั ง สี  U V  ที่ เ ห ม า ะ ส ม                                                             อาจท�าให้ตาอาจเป็นต้อ หรือเกิด
                  ผู้ ช่ วยศาสตราจารย์   ดร.                                                                ซึ่งในส่วนของรังสี UV-C ไม่ใช้ฆ่า  ความผิดปกติได้ จากการโดนรังสี
               นภาพงษ์ พงษ์นภางค์ หัวหน้า เชื้อกับคน แต่จะใช้ฆ่าเชื้อที่อยู่บน  ท�าลายกระจกกับเลนส์ตา ดังนั้น
               ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิค พื้นผิววัสดุต่างๆ เช่น มือถือ พวง  จึงควรที่จะต้องจัดเตรียมทุกอย่าง
               การแพทย์  มหาวิทยาลัยมหิดล  กุญแจ หรือวัสดุที่ไม่สามารถซักล้าง  ไว้ก่อน แล้วให้ตัวเราอยู่นอกห้อง
                                              ท�าความสะอาดได้                ก่อนเปิดสวิตช์  ให้แสงออกมา
                                                 “จริงๆ แล้ว UV คลื่นอื่นๆ ก็ใช้  แล้วทิ้งไว้ในระยะเวลาที่พอสมควร
                                              ฆ่าเชื้อได้เหมือนกัน แต่ต้องใช้เวลา  จึงปิดหลอดไฟ”
                                              นานกว่า เพราะว่ามีพลังงานที่ต่าง  “บุคลากรทางรังสีเทคนิค เป็น
                                              กันมาก เช่น เวลาเราออกไปตาก    บุคลากรส�าคัญในการตรวจวินิจฉัย
                                              แดด โดนรังสี UV-A และ UV-B     ผู้ป่ วย  Covid-19  โดยจะต้องมี
                                              กว่าผิวจะไหม้ใช้เวลาเป็นชั่วโมง   การสัมผัสกับตัวผู้ป่ วย  จากการ
                                              แต่ถ้าเป็น UV-C จะใช้เวลาเพียง  เอกซเรย์ปอด และท�า CT Scan
                                              ไม่ถึงนาทีเท่านั้น หากอยู่ในระยะ  ฯลฯ ซึ่งต่อไปทางภาควิชารังสี
                                              ใกล้  และมีความเข้มสูง  เพราะ  เทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์
                                              ฉะนั้น หากเราจะใช้เครื่องที่ใช้  มหาวิทยาลัยมหิดล  จะเปิ ด
                                              ฆ่าเชื้อด้วยรังสี UV-C ต้องมั่นใจ  โอกาสให้อาจารย์  ตลอดจน
                                              ว่าเป็ นเครื่ องที่ได้มาตรฐาน   นักศึกษาในภาควิชาฯ ได้มีการ
                                              แ ล ะ มี ค ว า ม ถี่ ที่ เ ห ม า ะ ส ม                                                         เรียนรู้ และท�างานวิจัยในเรื่อง
               ประธานภูมิภาคเอเชี ยและ ที่ส�าคัญอย่างยิ่ง  คือ  เราควร       ของรังสี UV กันให้มากขึ้น เพื่อ
               ออสเตรเลีย  สมาคมรังสีเทคนิค ป้ องกันตัวเองด้ วย  ซึ่งหาก     พัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์
               นานาชาติ  กล่าวว่า  UV-C  เป็น เป็ นเครื่องที่ปล่อยแสง  UV-C                          ให้ผู้ป่ วยได้รับการรักษาที่ดีที่สุด
               รังสียูวีที่มีความยาวคลื่นสั้น                                                                         ในกล่อง หรือภาชนะปิ ดจะไม่มี  ซึ่งเราปฏิบัติงานโดยมุ่งหวัง
               หากใช้ด้วยความเข้ม หรือระดับ ปัญหาอะไร แต่ว่าถ้าเป็นแสงไฟ     ให้ ผู้ ป่ วยปลอดภัย  และตัว
               ปริมาณที่เหมาะสม จะมีคุณสมบัติ ที่ซื้อมาเป็นหลอดที่ปล่อย UV-C   เราเองปลอดภัยด้วย”  ผู้ช่วย
               ในการท�าลายจุลชีพ  ซึ่งรวม ออกมา เวลาใช้ต้องระมัดระวัง        ศาสตราจารย์  ดร.นภาพงษ์
               ถึงเชื้อไวรัส  Covid-19  ได้โดย เป็ นอย่างยิ่ง  หากจะใช้ฆ่าเชื้อ                  พงษ์นภางค์ กล่าวทิ้งท้าย
               ความยาวคลื่นที่เหมาะสมในการ ในห้อง เวลาเปิดหลอดไฟไม่ควร
               ท�าลายเชื้อจุลชีพอยู่ที่ประมาณ  จะเข้าไปอยู่ในห้อง  เพราะอาจ       *ขอขอบคุณภาพจาก MUMT








   16     May 2020                                                M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21