Page 17 - MU_5May63
P. 17

รวมข่าวและบทความ Covid-19
                                                                                     ศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา
                                                                                      คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล


                ครั้งแรกในประเทศไทย ม.มหิดล พัฒนานวัตกรรมเพิ่มความแม่นย�าตรวจ Covid-19


                  การตรวจเชื้อเพื่อยืนยันผู้เข้าข่าย                         แปลผลลบผิดพลาด โดยนับเป็ น
               และยืนยันผู้ป่วย Covid-19 เป็นงาน                             ห้องปฏิบัติการตรวจ Covid-19
               ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีและความ                                  แห่งแรกของประเทศไทยที่
               เชี่ยวชาญสูง โดยปัจจุบันท�าได้โดย                             ริเริ่มนวัตกรรมดังกล่าว โดยเป็น
               บุคลากรทางการแพทย์เท่านั้น ซึ่ง                               วิธีการที่มีประสิทธิภาพ  แม่นย�า
               การรายงานผลที่ผิดพลาดอาจท�าให้                                เที่ยงตรง และได้มาตรฐาน
               ผู้เข้ารับการตรวจเกิดความเข้าใจผิด                              คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์
               คิดว่าตัวเองไม่ติดเชื้อ จนอาจละเลย                            มหาวิทยาลัยมหิดล อธิบายว่า การ
               การดูแลป้องกันตนเอง ท�าให้เกิด                                เก็บสิ่งส่งตรวจที่ไม่เหมาะสม
               การแพร่กระจายเชื้อต่อไปได้                                    อาจท�าให้เกิดผลลบปลอมขึ้นได้
                  ข้อมูลจากกรมวิทยาศาสตร์                                    ซึ่งการน�า Housekeeping gene
               การแพทย์ระบุว่า การตรวจโรค                                    เข้ามาวิเคราะห์ร่วมด้วย เพื่อดู
               ติดเชื้อ Covid-19 ในประเทศไทย                                 สัญญาณการเพิ่มขึ้นของยีนที่
               สามารถท�าได้ ๒ วิธี โดยวิธีแรก                                บ่งชี้ในเบื้องต้นว่า  มีเซลล์ของ
               คือ real-time RT PCR  ซึ่งเป็นการ  ศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรเฉลิม  มนุษย์ หรือเซลล์เจ้าบ้านอยู่ใน
               ตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัส     อิศรางกูร ณ อยุธยา คณบดีคณะ สิ่งส่งตรวจอย่างเหมาะสมหรือไม่
               โดยวิธีการขูดเก็บเยื่อบุในคอ หรือ  เทคนิคการแพทย์  มหาวิทยาลัย โดยดูผลร่วมกับการวิเคราะห์หา
               เยื่อหลังโพรงจมูก ใช้เวลาประมาณ                                                                         มหิดล กล่าวว่า ในการตรวจเพื่อ RNA ของเชื้อไวรัส จะท�าให้ได้ผล
               ๓ – ๕ ชั่วโมง ต้นทุน ๒,๕๐๐ –   ยืนยันผู้เข้าข่าย และยืนยันผู้ป่วย  การตรวจที่แม่นย�าขึ้น ซึ่งหากตรวจ
               ๓,๐๐๐ บาท/ครั้ง ซึ่งผู้ที่เป็นกลุ่ม  Covid-19 นั้น ความมีประสิทธิภาพ  เจอสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสก่อ
               เสี่ยงสามารถเข้ารับการตรวจได้  แม่นย�า เที่ยงตรง และได้มาตรฐาน  โรค Covid-19 จะแปลผลว่า พบ
               ฟรี ในขณะที่วิธีที่สอง คือ Rapid   เป็นปัจจัยส�าคัญที่จะต้องน�ามา การติดเชื้อ
               test  ซึ่งไม่ได้เป็นการตรวจหาเชื้อ                                                                      พิจารณาเป็นล�าดับแรกๆ ซึ่งวิธีการ  ห้องปฏิบัติการคณะเทคนิค
               แต่เป็นการตรวจหาภูมิคุ้มกันใน  เก็บตัวอย่างโดยการขูดเก็บเยื่อบุ การแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
               เลือด โดยต้องตรวจหลังมีอาการ   ในคอ หรือเยื่อหลังโพรงจมูกออก เปิ ดให้บริการตรวจวินิจฉัยโรค
               ป่วย ๕ – ๗ วัน หรือได้รับเชื้อมา  มาตรวจหาเชื้อนั้น จะต้องระวังการ ติดเชื้อ Covid-19 โดยวิธี real-
               แล้ว ๑๐ – ๑๔ วัน ร่างกายจึงจะ  ปนเปื้อนใน สิ่งแวดล้อม จึงต้องท�า time RT-PCR เพิ่มการวิเคราะห์
               สร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาต้านเชื้อโรค ใช้  ในห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐาน RNA  ในยีนเจ้าบ้าน  (House-
               เวลาประมาณ ๑๕ นาที ค่าตรวจอยู่  เท่านั้น                      keeping gene) โดยมี ๒ รอบการ
               ที่ประมาณ ๒๐๐ – ๕๐๐ บาท           เมื่อเร็วๆ นี้มหาวิทยาลัยมหิดล  ทดสอบ คือ เวลา ๐๙.๓๐ น. และ
                  โดยวิ ธี  re a l -ti me  RT-  โดยคณะเทคนิคการแพทย์ ภาย ๑๔.๓๐ น. ทั้งนี้ สามารถส่งสิ่งส่ง
               PCR  เป็ น วิ ธี มาตรฐาน       ใต้ การดูแลและให้ ค�าแนะน�า ตรวจได้ทุกวันตั้งแต่เวลา ๐๖.๐๐
               (Gold  standard)  ที่ต้องท�าใน                                                                        จาก ศาสตราจารย์เกียรติคุณ  – ๒๐.๐๐ น. ณ ห้องปฏิบัติการ
               ห้องแล็บที่ได้รับมาตรฐานเท่านั้น   ดร.พิไลพันธ์   พุธวัฒนะ  นัก ศูนย์เทคนิคการแพทย์และรังสี
               และเป็ นวิธีเดียวที่ได้รับการ  ไวรัสวิทยาแถวหน้าของประเทศ  เทคนิคนานาชาติ บริเวณชั้น ๒
               รับรองจากองค์การอนามัยโลก      ได้ออกแบบกระบวนการทดสอบ
               และกระทรวงสาธารณสุขไทย         เพิ่มเติม  โดยอาศัยการตรวจ
               ว่าเป็นวิธีที่เหมาะสมส�าหรับการ  วิเคราะห์  RNA  ในส่วนของ
               ตรวจวินิจฉัยโรคเพื่อการรักษาที่  ยีนเจ้าบ้าน  (Housekeeping
               รวดเร็ว ตั้งแต่ระยะแรกของการ   gene) จากเซลล์มนุษย์ ซึ่งเป็นวิธี
               เกิดโรค  และใช้ติดตามผลการ     ที่สามารถช่วยตรวจสอบคุณภาพ
               รักษาได้                       ตัวอย่างตรวจ  และป้องกันการ








                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๓      17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22