Page 20 - MU_5May63
P. 20

Research Excellence




                ๓ นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล เผยเบื้องหลังเรื่องราวการพัฒนาชุดตรวจ


                   COVID-19 ฝีมือคนไทย ด้วยเทคโนโลยี CRISPR Diagnostic แบบเจาะลึก

                  สถานการณ์การระบาดของ                  ชีวภาพแห่งชาติ ส�านักงานพัฒนา ติดเชื้อบ้าง น�าไปสู่การกักตัวและ
               COVID-19 ก็คงด�าเนินไป อย่างต่อ  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง รักษาไม่ให้เชื้อแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้ การ
               เนื่อง ยอดผู้ป่วยโดยรวมทั่วโลกเพิ่ม  ชาติ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ตรวจโรคเมื่อเกิดการแพร่ระบาดครั้ง
               ขึ้น หลายประเทศทั่วโลกขาดแคลน  มหาวิทยาลัย และ คณะวิทยาศาสตร์ ใหญ่จะน�ามาซึ่งข้อมูลเชิงสถิติและ
               อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ                                                                       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  โดย
               แต่ท่ามกลางวิกฤติ ก็มีนวัตกรรมการ  การสนับสนุนงบประมาณการวิจัย
               ผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์เกิดขึ้น  จากกลุ่ม ปตท. และ ธนาคารไทย
               เช่นกัน เมื่อไม่นานมานี้มีการเผย  พาณิชย์ (SCB)
               ว่าทีมนักวิจัยไทยสามารถผลิตชุด
               ตรวจ COVID-19 ต้นแบบได้ส�าเร็จ   Test Test Test หนทางการรับมือ
               โดยความร่วมมือของผู้เชี่ยวชาญ  การแพร่ระบาดใหญ่ครั้งใหญ่
               หลายสถาบัน  ซึ่งมี  ๓  นักวิจัย                                                                                      ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดนยา
               ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.ดนยา                                                                      ปโกฏิประภา กล่าวว่า จากข้อมูล
               ปโกฏิประภา ผู้ช่วยศาสตราจารย์   ปัจจุบันผู้ติดเชื้อ COVID-19 ร้อยละ
               ดร.รัชนก ตินิกุล และ ดร.สิทธินันท์   ๘๐ มีอาการแสดงน้อย และอาจไม่รู้
               ชนะรัตน์  อาจารย์ประจ�าภาค     ตัวว่าป่วยเป็น COVID-19  นอกจาก
               วิชาชีวเคมีจากคณะวิทยาศาสตร์   นี้พบว่าสามารถตรวจพบเชื้อได้ก่อน
               มหาวิทยาลัยมหิดลในฐานะ         ผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการถึง ๑ – ๓  ระบาดวิทยา ช่วยให้เรารู้ขอบเขต
               ภาคีเครือข่ายร่วมทีมวิจัยพัฒนา                                ของการระบาด วางแผนการควบคุม
               ชุดตรวจ  COVID-19  กับคณะ                                     โรคได้ที่เป็นประโยชน์ในการจัดการ
               แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล                                       เชิงนโยบายของภาครัฐเพื่อควบคุม
               มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิทย                                   การระบาดของโรค ลดการแพร่เชื้อ
               สิริเมธี (VISTEC) โดยความช่วย                                 และควบคุมจ�านวนผู้ป่วยให้ไม่เพิ่ม
               เหลือด้านเทคโนโลยีจากสถาบัน                                   ขึ้นจนเกินความสามารถของระบบ
               Broad Institute, Massachusetts                                สาธารณสุขในการรองรับผู้ป่วยได้
               Institute of Technology and                                   นั่นเอง
               Harvard, USA รวมถึงผู้เชี่ยวชาญ
               ของสถาบันชั้นน�าของประเทศ                                     Sensitivity (ความไว) และ Specificity
               ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์                                 (ความจ�าเพาะ) ของชุดตรวจกับ
               กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาล                                                                                 สถานการณ์การระบาดในวงกว้าง
               พระปกเกล้าจังหวัดจันทบุรี ศูนย์                                 เมื่อกล่าวถึงชุดตรวจโรค  จะ
               พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี      วัน ซึ่งผู้ติดเชื้อกลุ่มนี้แม้จะยังไม่รู้ มีค�าศัพท์ที่ได้ยินบ่อยๆ  ๒  ค�า
                                              ตัวว่าป่วย แต่ก็สามารถแพร่เชื้อให้ คือ ความไว (sensitivity)
                                              ผู้อื่นได้ และหากผู้ที่ได้รับเชื้ออยู่ใน หมายถึง ความสามารถในการตรวจ
                                              กลุ่มเสี่ยง เช่น มีโรคประจ�าตัว หรือ จับตัวอย่างมีเชื้อ หรือมีผลเป็นบวก
                                              เป็นผู้สูงอายุ เมื่อติดเชื้อแล้วอาจมี ส่วนความจ�าเพาะ (specificity)
                                              อาการรุนแรงได้ นอกจากนี้ยังมีผู้ติด คือ ความสามารถในการแยกแยะ
                                              เชื้ออีกจ�านวนหนึ่ง ซึ่งอาจสูงถึงร้อย ตัวอย่างที่มีเชื้อออกจากตัวอย่าง
                                              ละ ๑๘ – ๒๐ ที่ไม่มีอาการแสดงเลย  ที่ไม่มีเชื้อ หรือมีผลเป็นลบ ตาม
                                              ในปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลแน่ชัดว่าผู้ อุดมคติแล้ว ย่อมอยากจะให้ชุด
                                              ติดเชื้อกลุ่มนี้สามารถแพร่เชื้อให้ผู้ ตรวจมีทั้งความไวและความจ�าเพาะ
                                              อื่นได้หรือไม่ ดังนั้นการตรวจหาเชื้อ ที่สูงทั้งคู่เพื่อความแม่นย�าสูงสุด
                                              จึงเป็นกุญแจส�าคัญในการควบคุม เพราะหากชุดตรวจมีความไวต�่าก็
                                              โรค การตรวจท�าให้ทราบว่าใคร จะท�าให้ตรวจไม่พบเชื้อทั้งที่ผู้ป่วย





   20     May 2020                                                M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25