Page 24 - MU_5May63
P. 24

ด้วยมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา   ๑. น�าปุ๋ยหมักชีวภาพแบบเติมอากาศ
               มีขยะอินทรีย์ที่มาจากเศษใบไม้และ  ที่มีขั้นตอนการผลิตจากเศษใบไม้
               กิ่งไม้ที่เกิดจากการตัดแต่งต้นไม้  และกิ่งไม้ที่ใช้เวลาผลิตประมาณ
               ของส่วนงานต่างๆ เป็นจ�านวนมาก   ๑ เดือน มาร่อนด้วยเครื่องร่อนจะ
               กองกายภาพและสิ่งแวดล้อมจึง     ได้เป็น “ปุ๋ ยผง”
               ได้น�าเศษใบไม้และกิ่งไม้เหล่านั้น  ๒. น�าปุ๋ ยผงมาผสมกับส่วนผสม
               กลับมาใช้ประโยชน์อีกครั้ง ด้วย  ซึ่งประกอบด้วยเพอร์ไลต์ “สารเพิ่ม
               การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพ แบบระบบ  ประสิทธิ ภาพปุ๋ ย” (ปลอดสารพิษ)
               กองเติมอากาศ ไว้ใช้งานภายใน    กากน�้าตาล และน�้าเปล่า ตามอัตรา
               มหาวิทยาลัย                    ส่วน แล้วคลุกเคล้าให้เข้าเป็นเนื้อ
                                              เดียวกัน จากนั้น หมักทิ้งไว้ประมาณ  ๔. เมื่ออัดปุ๋ยเป็นเม็ดแล้ว ให้น�าปุ๋ย

                                              ๒-๓วัน เพื่อให้ปุ๋ ยผงและส่วนผสม เม็ดไปตากให้แห้ง ใช้เวลาประมาณ
                                              เข้ากัน                        ๔-๕วัน (ขึ้นอยู่กับอากาศ) ระหว่าง
                                                                             ตากให้มีการพลิกกลับปุ๋ ยตลอดวัน
                                                                             เว้นวัน เพื่อให้แห้งได้ทั่ว ถึงกัน
                                                                               ประโยชน์ของปุ๋ ยหมักชีวภาพนี้
                  ซึ่งเป็นกระบวนการย่อยสลาย                                  เหมาะส�าหรับใช้กับไม้ผล ไม้ดอก
               ที่เร็วขึ้นและได้ปุ๋ ยหมักชีวภาพใน                            ไม้ประดับ พืชผัก นาข้าว และพืช
               เวลาอันสั้น โดยที่ไม่ต้องพลิกกลับ                             ไร่ต่างๆ ตลอดจนสนามหญ้า โดย
               กองปุ๋ ยเพื่อเติมอากาศ ซึ่งเป็นการ                            มีวางจ�าหน่าย “ปุ๋ ยหมักชีวภาพ
               ง่าย ต้นทุนต�่า และใช้เวลาน้อย                                ชนิดเม็ด  ณ  อาคารอนุรักษ์สิ่ง
               (ประมาณ ๑ เดือน) เพื่อให้ทัน                                  แวดล้อม ราคากิโลกรัมละ ๓๐ บาท
               ต่อการใช้งาน และที่เหลือจากการ  ๓. น�าปุ๋ยที่ผสมและหมักไว้แล้วมาใส่ จัดจ�าหน่ายเป็นถุง ถุงละ ๒ กิโลกรัม
               ใช้งานก็จัดจ�าหน่ายต่อไป ซึ่งมี  เครื่องอัดเม็ด โดยค่อยๆ ทยอยตัก                      ราคา ๖๐บาท สอบถามรายละเอียด
               การจ�าหน่าย “ปุ๋ ยหมักชีวภาพ”                                                          ปุ๋ ยผสมแล้วใส่ในเครื่องอัดเม็ด  ได้ที่ :งานภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อม
               ณ อาคารอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ราคา  ระหว่างการรับปุ๋ยที่อัดเป็นเม็ด ก็ใช้ กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
               กิโลกรัมละ ๖ บาท จัดจ�าหน่าย                     ตะแกงร่อนเพื่อเอาเศษออก  โทร. ๐๒-๔๔๑๔๔๐๐ ต่อ ๑๒๑๐-
               เป็นถุง ถุงเล็ก ๔ กิโลกรัม ราคา                               ๑๒๑๑
               ๒๕ บาท ถุงใหญ่ ๑๐ กิโลกรัม

               ราคา ๖๐ บาท
                  ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาและ
               ต่อยอดการผลิตปุ๋ ยหมักชีวภาพ
               ให้เหมาะสม สอด คล้องและสะดวก
               ต่อการใช้งาน จึงได้ด�าเนิน การน�า
               เอาปุ๋ ยหมักชีวภาพมาผสมกับส่วน
               ผสมในการผลิตให้เป็นปุ๋ ยเม็ด ซึ่งมี
               ขั้นตอนการผลิต “ปุ๋ ยหมักชีวภาพ
               ชนิดเม็ด” ดังนี้






   24     May 2020                                                M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28