Page 26 - MU_5May63
P. 26

มุมกฎหมาย
             สุนิสา ปริพฤติพงศ์

                                   เวชระเบียนสูญหายผู้ใดต้องรับผิด


            “เวชระเบียน” หลายท่านคงทราบว่า                      ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ขอให้  ปล่อยปละละเลยให้เวชระเบียนผู้ป่วยใน
          เวชระเบียนคืออะไร แต่อาจมีบางท่านยังไม่  โรงพยาบาลส่งมอบต้นฉบับ หรือส�าเนาเวช  ของผู้ฟ้องคดีทั้งสองฉบับพ้นไปจากความ
          ทราบ ในเมื่อบทความนี้จะกล่าวถึงเวชระเบียน  ระเบียนทั้งหมดให้  ผู้ฟ้องคดี เพื่อการตรวจ  ครอบครอง ในลักษณะต่างกรรมต่างวาระกัน
          ก็จะพูดถึงเวชระเบียนกันก่อนว่า เวชระเบียน  สอบข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น  แต่โรงพยาบาลได้  ส่งผลให้ผู้ฟ้องคดีไม่อาจได้รู้ข้อมูลข่าวสาร
          เป็นเอกสารที่โรงพยาบาลต่างๆ จัดท�าขึ้น และ  ส่งมอบส�าเนาเอกสารบางส่วนที่ผู้ฟ้องคดีเห็น  ส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตนที่ปรากฏอยู่ในเวช
          อยู่ในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลเพื่อ  ว่าไม่มีความส�าคัญ และโรงพยาบาลชี้แจงต่อ  ระเบียนผู้ป่วยในอย่างสมบูรณ์ครบถ้วนตาม
          ประโยชน์ในทางการแพทย์ และใช้เป็นข้อมูล  ผู้ฟ้องคดีว่าเวชระเบียนผู้ป่วยในทั้งสองครั้ง  พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
          ในการวินิจฉัย และรักษาผู้ป่วยต่อไป หรือใช้  สูญหาย จึงไม่สามารถด�าเนินการตามค�าร้อง  พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงถือเป็นการละเลยต่อหน้าที่
          เพื่อการศึกษาวิจัย รวมทั้งเวชระเบียนยังเป็น  ขอได้ ผู้ฟ้องคดีเห็นว่าโรงพยาบาลจงใจไม่  ตามที่กฎหมายก�าหนดให้ต้องปฏิบัติ  และด้วย
          เอกสารที่ได้บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัว  ส่งมอบหลักฐานดังกล่าวให้แก่ผู้ฟ้องคดีจึง  เหตุที่เวชระเบียนดังกล่าวสูญหายไป จึงเป็นการ
          ของผู้ป่วยเกี่ยวกับประวัติสุขภาพ วิธีการรักษา  ร้องเรียนไปยังคณะกรรมาธิการการคุ้มครอง  กระท�าละเมิดต่อสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร
          และรายงานทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับตัวผู้ป่วย  ผู้บริโภค ประจ�าสภาผู้แทนราษฎร และเมื่อ  ซึ่งเป็นสิทธิที่ได้รับการรับรอง และคุ้มครอง
          แต่ละราย ดังนั้นเวชระเบียนจึงเป็นข้อมูล  วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ ผู้อ�านวยการ  โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และ
          ข่าวสารราชการในลักษณะข้อมูลข่าวสาร  โรงพยาบาลชี้แจงต่อที่ประชุมว่าโรงพยาบาล  เมื่อสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
          ส่วนบุคคลส�าหรับผู้ป่วย ตามพระราชบัญญัติ  พยายามติดตามอย่างเต็มที่แล้ว แต่ค้นหาไม่  ของผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหาย โดยสูญเสีย
          ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐                                                                              พบ และมิได้มีเจตนาจะมิให้เวชระเบียนผู้ป่วย  โอกาสในการปกปักรักษาประโยชน์ของตน
          มาตรา ๔ ในเมื่อเวชระเบียนเป็นข้อมูลข่าวสาร  ในแก่ผู้ฟ้องคดีแต่อย่างใด ต่อมาผู้ฟ้องคดีมี  ถือว่าเป็นการกระท�าละเมิดที่มีสภาพขัดแย้ง
          ส่วนบุคคลและเป็นเอกสารส�าคัญทางการ  หนังสือฉบับลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๗  และฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญอย่าง
          แพทย์ของผู้ป่วย ใครจะต้องมีหน้าที่ในการ  ร้องเรียนไปยังคณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร  ชัดแจ้ง ศาลปกครองสูงสุดพิพากษาให้ผู้ถูก
          เก็บรักษา ?                       ของราชการ โดยคณะกรรมการข้อมูลข่าว                                                                                 ฟ้องคดีชดใช้ค่าเสียหายเป็นจ�านวนเงิน
            ค�าตอบคือ  โรงพยาบาล  เจ้าหน้าที่                                                           สารฯ ได้สรุปผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง และ  ๑๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตรา
          ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับเวชระเบียน และเจ้า  โรงพยาบาลได้แจ้งความเอกสารดังกล่าวสูญหาย  ร้อยละ ๗.๕ ต่อปีนับแต่วันฟ้องคดีเป็นต้นไป
          หน้าที่ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยจะต้องมีหน้าที่  ไว้แล้ว จึงเชื่อว่าข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเวช  จนกว่าจะช�าระเสร็จ
          ดูแลและเก็บรักษาเอกสารเวชระเบียน รวม  ระเบียนผู้ป่วยใน ทั้งสองฉบับของผู้ฟ้องคดี                                                                               คดีดังกล่าวศาลสั่งให้ชดใช้ค่าเสียหาย
          ทั้งให้ความสนใจเกี่ยวกับสิทธิของผู้ป่วย  ไม่อยู่ในความครอบครองของโรงพยาบาล  จ�านวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท มิใช่เพียงเพราะ
          และการใช้สิทธิขอส�าเนาเอกสารเวชระเบียน                                            ผู้ฟ้องคดีจึงน�าคดีไปฟ้องต่อศาลแพ่งธนบุรี  เวชระเบียนซึ่งเป็นเอกสารจ�านวนไม่กี่แผ่น
          ผู้ป่วยตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของ  เมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๔๘ โดยขอให้  สูญหายไป แต่เป็นค่าสินไหมทดแทนในผล
          ราชการ หากมีการสูญหายจะต้องมีผู้รับผิดชอบ                                            ศาลมีค�าพิพากษา ให้โรงพยาบาลส่งมอบ  แห่งการกระท�าละเมิดต่อสิทธิของผู้ป่วยใน
          ดังเช่นกรณีที่เกิดขึ้นและศาลได้มีค�าวินิจฉัยไว้  เวชระเบียนผู้ป่วยใน ทั้งสองฉบับของผู้ฟ้อง  การรับรู้ข้อมูลการรักษาจากโรงพยาบาล และ
          แล้ว โดยคดีดังกล่าวน่าสนใจ และเป็นกรณี  คดี และหากไม่สามารถส่งมอบเวชระเบียนได้  ถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ประชาชนชาวไทย
          ศึกษา หรือเป็นอุทาหรณ์ในเรื่องเวชระเบียนผู้  ให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้ฟ้องคดี ต่อมาศาล  ทุกคนได้รับความคุ้มครองตามบทบัญญัติ
          ป่วยสูญหาย ซึ่งถือเป็นการกระท�าละเมิดต่อ  แพ่งธนบุรีได้มีค�าสั่งจ�าหน่ายคดีออกจาก  ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ผู้ป่วย
          สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล และ  สารบบความเพื่อให้ไปฟ้องร้องยังเขตศาล  ทุกคนจึงควรได้รับโอกาสในการเข้าถึงข้อมูล
          หน่วยงานต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน  ที่มีอ�านาจเมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๘  ดังกล่าวได้โดยไม่ยาก และถือเป็นหน้าที่ของ
          ในผลแห่งการกระท�าละเมิดดังกล่าว คดีมีข้อ  ผู้ฟ้องคดีจึงน�าคดีไปฟ้องต่อศาลปกครอง  โรงพยาบาลที่จะต้องอ�านวยความสะดวกแก่
          เท็จจริงสรุปได้ดังนี้             กลางเมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙  ผู้ป่วยในการรับทราบข้อมูลข่าวสารดังกล่าว
            ผู้ฟ้องคดี  (ในที่นี้หมายถึงผู้ป่ วย)                         ประเด็นของการฟ้องคดีดังกล่าวเป็น  รวมถึงผู้ฟ้องคดีได้รับความยากล�าบากในการ
         ได้เข้ารับการรักษาอาการป่วยครั้งแรกเมื่อ  เพราะโรงพยาบาลในฐานะผู้ครอบครอง  ติดตาม และต้องเสียค่าใช้จ่ายจ้างทนายความ
         เดือนธันวาคม ๒๕๔๒ ณ โรงพยาบาลที่เป็น  และดูแลรักษาเวชระเบียน ได้กระท�า  ไปร้องเรียนต่อหน่วยงานต่างๆ เพียงเพื่อ
         สถานพยาบาลอยู่ในสังกัดของผู้ถูกฟ้องคดี  ละเมิดไม่สามารถส่งมอบเวชระเบียน  เข้าถึงข้อมูลการรักษาของตน จึงเป็นผล
         ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ โดยโรงพยาบาลดัง  ทั้งหมดให้ผู้ฟ้องคดีได้ คดีนี้ศาลปกครอง  โดยตรงจากความบกพร่องของระบบการ
         กล่าวได้รับตัวผู้ฟ้องคดีไว้รักษาอาการเป็นผู้  สูงสุดได้พิจารณา และวินิจฉัยว่า เป็นคดี  ให้บริการประชาชนของโรงพยาบาล
         ป่วยในจ�านวนสองครั้ง ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๑  พิพาทเกี่ยวกับการกระท�าละเมิดของหน่วยงาน  (อ้างอิง ค�าพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดี
         ธันวาคม ๒๕๔๒ และครั้งที่สองเมื่อวันที่ ๓  ทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจาก  หมายเลขด�าที่ อ.๒๗๓/๒๕๕๔ คดีหมายเลข
         กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓ ภายหลังการรักษาตัวด้วย  การละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายก�าหนด  แดงที่ อ. ๕๗๘/๒๕๖๒)
         การผ่าตัด สองครั้ง และออกจากโรงพยาบาล  ให้ต้องปฏิบัติ และอยู่ในอ�านาจพิจารณา
         เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๓ ผู้ฟ้องคดี  พิพากษาของศาลปกครองตามพระราช
         ไม่สามารถกลับมายืนได้เหมือนเดิม มีอาการ  บัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณา
         อัมพาต และไม่สามารถควบคุมการขับถ่าย  คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๙ วรรค
         ได้ เมื่อผู้ฟ้องคดีใช้สิทธิตามพระราชบัญญัติ  หนึ่ง (๓) การที่ผู้ถูกฟ้องคดีโดยโรงพยาบาล


   26     May 2020                                                M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   21   22   23   24   25   26   27   28