Page 13 - MU_5May63
P. 13

รวมข่าวและบทความ Covid-19
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม


                  ม.มหิดล ช่วยชาติเยียวยาวิกฤต Covid-19 บริการให้ความรู้

                                           และค�าปรึกษาสุขภาพจิต



                  จากเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๓ ที่ ก็จะค่อยๆ  ผ่าน
               องค์การอนามัยโลก ได้มีการแถลงข่าวใช้ ไป ตามหลักความ
               ค�าว่า ‘Physical Distancing’ (การเว้น เป็นจริงที่ว่า “สิ่ง
               ระยะห่างทางกายภาพ) แทน ‘Social  ต่างๆ เกิดขึ้น ตั้ง
               Distancing’ (การเว้นระยะห่างทาง อยู่ และดับไป”
               สังคม) ในการป้องกันการแพร่ระบาด หากในช่วงนี้จะมี
               ของ Covid-19 เนื่องจากค�าว่า ‘Social  ความเครียดหรือ
               Distancing’ อาจมีผลลบต่อสุขภาพจิต  วิตกกังวลบ้ าง
                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พวงเพชร  ถือเป็นเรื่องปกติ
               เกษรสมุทร                      การฝึ กหายใจ
               หัวหน้าภาค                     คลายเครียด และ
               วิชาสุขภาพ                     ฝึ กสติให้อยู่กับ
               จิตและการ                      ปัจจุบันจะช่วยให้
               พยาบาล                         เราสามารถคลาย
               จิตเวชศาสตร์                   ความเครียดและ
               คณะพยาบาล                      วิตกกังวลได้ แต่
               ศาสตร์                         ถ้าเมื่อไหร่ที่รู้สึก
               มหาวิทยาลัย                    เครียดหรือวิตก
               มหิดล กล่าว                    กังวลมาก ต้องลด
               ว่า จริงๆ แล้วการรักษาระยะห่างทาง การเสพข่าว หรือ
               สังคม ซึ่งแม้จะมีผลดีต่อสุขภาพกาย  จ�ากัดเวลาส�าหรับ
               เพราะช่วยหยุดการแพร่ระบาด แต่ก็ ความเครียดและ
               อาจจะไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพจิต เพราะ วิตกกังวล โดยจัด
               การอยู่กับสังคมเป็นสิ่งที่ช่วยฟื้นฟูสภาพ เวลาช่วงใดช่วง
               จิตใจได้ ฉะนั้น ในภาวะวิกฤตที่เรา หนึ่ง วันละครึ่งชั่วโมง หากเราจะเครียด/
               ต้องมี Physical Distancing แต่เรา คิดมาก ก็ให้เครียด/คิดมากในช่วงเวลา
               จะไม่ให้เกิด Psychological Distan                              ที่จัดไว้ หากไม่ใช่ช่วงเวลาดังกล่าว เรา
               cing  หมายความว่า แม้เราจะต้องห่าง จะไม่เครียด ไม่กังวล ไม่คิดมาก หางาน
               กันทางกาย แต่จิตใจของเรายังอยู่ อดิเรกที่ชอบท�า เช่น ปลูกต้นไม้ ฟังเพลง
               ใกล้กันได้ตลอดเวลา เรายังสามารถ เราจะได้ไม่เครียดตลอดเวลา ซึ่งจะไม่
                                              เป็นผลดีต่อการด�าเนินชีวิต
                                                 “ขณะนี้ คณะพยาบาลศาสตร์
                                              มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เปิดบริการให้  ๐๖-๕๙๐๓-๒๒๐๓, ๐๖-๕๙๐๓-๒๒๓๒,
                                              ความรู้ และให้ค�าปรึกษาแก่ประชาชน   ๐๘-๕๒๑๙-๖๘๙๕ และภาควิชาฯ ก�าลัง
                                              ผ่าน FB: รู้ทัน ป้องกัน ภัย Covid-19 ซึ่ง  ขอทุนเพื่อจัดท�าสื่อช่วยลดผลกระทบจาก
                                              จะมีบทความต่างๆ ที่ให้ความรู้ที่ถูกต้อง   ความเครียดในภาวะวิกฤต Covid-19
                                              ไขข้อสงสัยว่าข่าวไหนจริง/ข่าวไหนปลอม   ที่มีต่อสุขภาพจิต” ผู้ช่วยศาสตราจารย์
                                              พร้อมแนะวิธีการดูแลตนเอง บริการถาม-  ดร.พวงเพชร เกษรสมุทร กล่าว
               สื่อสารกับครอบครัว เพื่อน และคนที่ ตอบปัญหาทาง inbox และบริการให้การ
               เรารักได้ตลอดเวลา ถ้าเราเข้าใจแบบนี้  ปรึกษาทางโทรศัพท์ ทุกวันจันทร์ – ศุกร์   *ขอขอบคุณภาพจาก NS
               เราจะไม่ถูกแยก หรือตัดขาดออกจาก เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ทางหมายเลข
               สังคมกันอย่างสิ้นเชิง          ๐๖-๕๙๐๓-๒๐๔๓, ๐๖-๕๙๐๓-๒๐๘๕,
                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พวงเพชร  ๐๖-๕๙๐๓-๒๑๐๕, ๐๖-๕๙๐๓-๒๑๒๓,
               เกษรสมุทร กล่าวต่อไปว่า อยากให้ ๐๖-๕๙๐๓-๒๑๒๓, ๐๖-๕๙๐๓-๒๑๒๖,
               มองภาวะวิกฤต Covid-19 ว่าเป็นวิกฤต ๐๖-๕๙๐๓-๒๑๓๒, ๐๖-๕๙๐๓-๒๑๗๐,
               ที่ผ่านเข้ามา อยู่กับเราระยะหนึ่ง จากนั้น ๐๖-๕๙๐๓-๒๑๗๑, ๐๖-๕๙๐๓-๒๑๗๖,






                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๓      13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18