Page 9 - MU_1Jan63
P. 9

Harmony in Diversity
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม



                                ม.มหิดล ปลูก “หัวใจความเป็นมนุษย์”

                                      ให้กับเยาวชน จากงานจิตอาสา



                  หลังจำกควำมสูญเสีย เมื่อวันที่ ๒๖  ผู้ป่วยถึง ๓,๕๐๐,๐๐๐ คน ล�ำพังกำรให้  นางสาวณัฏฐณิชา สายสีดา หรือ
               ธันวำคม ๒๕๔๗ จำกเหตุกำรณ์ “สึนามิ”  บริกำรของเจ้ำหน้ำที่ประจ�ำโรงพยำบำล “ปิ งปอง” อำสำสมัครเยำวชนจิตอำสำ
               วัน “จิตอาสา” จึงก่อก�ำเนิดขึ้นในวันถัดมำ  อำจไม่ทั่วถึง จึงได้มีกำรเปิดรับอำสำสมัคร ศิริรำช วัย ๑๗ ปี เล่ำว่ำ ตนได้ใช้เวลำ
               คือ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ซึ่งถือเป็นวันที่ จิตอำสำเข้ำมำช่วยงำน โดยศิริราชเป็ น ปิดภำคเรียนสมัครเป็นจิตอำสำให้
               จิตอาสาได้ผลิบาน               คณะแพทย์แห่งแรกที่มีหน่วยงานด้าน บริกำรแนะน�ำผู้ป่วยติดตั้งแอปพลิเคชัน
                  จิตอาสา คือ ผู้ที่มีจิตใจแห่งการให้     กิจกรรมเพื่อสังคม หรือ CSR ขึ้น                Siriraj Connect พร้อมช่วยเหลือในกำร
               ผู้เสียสละทั้งก�าลังกาย ก�าลังใจ ตลอดจน โดยเฉพาะ ซึ่งท�าหน้าที่ดูแลจิตอาสา               ลงทะเบียน รู้สึกมีความสุขที่ได้ช่วย
               ก�าลังทรัพย์ เพื่อร่วมสร้างสิ่งดีๆ ที่จะ ที่เข้ามาอย่างเป็ นระบบ และป้องกัน เหลือผู้อื่น โดยเฉพาะผู้สูงวัยที่ไม่ได้เกิด
               ท�าให้สังคมเกิดการพึ่งพาอาศัยกัน ซึ่งสิ่ง               ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ มาพร้อมเทคโนโลยีสมัยใหม่เหมือน
               ที่ได้ คือ ความสุขจากการได้เป็นผู้ให้  ด�าเนินงานจิตอาสานั้นด้วย  อย่างพวกตน  เลยรู้สึกเหมือนเป็ น
                  ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์  คุณสมบัติของอาสาสมัครศิริราช ลูกหลานที่คอยช่วยเหลือญาติผู้ใหญ่
               ประเวศ วะสี กรรมกำรสภำมหำวิทยำลัย จะต้องมีอายุ ๑๒ ปีขึ้นไป มีควำมพร้อม มีเพื่อนๆ ถำมมำบ้ำงว่ำไปท�ำงำนจิตอำสำ
               มหิดลผู้ทรงคุณวุฒิ ได้กล่ำวไว้ในกรณี ทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจที่จะบ�ำเพ็ญ เหนื่อยไหม บอกเลยว่ำถ้ำจะเหนื่อยก็แค่
               ศึกษำ  “การท�างานอาสาสมัคร” ว่ำ  ประโยชน์ช่วยเหลือผู้ป่ วยด้อยโอกำส                   เรื่องกำรเดินทำง แต่ไม่เคยเหนื่อยที่ได้
               “…ขณะนี้                       ซึ่งการท�าจิตอาสาในโรงพยาบาล                      ท�ำงำนช่วยเหลือผู้อื่น
               สิ่งที่สังคม                   มีความแตกต่างจากการท�าจิตอาสาใน  ด้ำน นายศตวรรษ ปัญญา หรือ “ซอล”
               ต้ องการ                       สถานที่อื่นๆ ตรงที่เราจะได้เรียนรู้ใน อำสำสมัครเยำวชนจิตอำสำศิริรำช วัย
               และโหยหา                       เรื่องของการเกิด แก่ เจ็บ ตาย และ ๑๖ ปี กล่ำวว่ำ งำนจิตอาสา เป็นงานที่
               คือ โลกของ                     ที่ส�าคัญได้เรียนรู้วิธีดูแลผู้ป่ วย ซึ่งใน ต้องใช้ใจท�า แค่เรามีความตั้งใจ ไม่
               หัวใจความ                      กำรนี้เรำต้องป้องกันโรคติดต่อบำงอย่ำง                                    ว่างานอะไรก็ท�าได้โดยไม่ต้องมีใคร
               เป็ นมนุษย์                    ทั้งจำกผู้ป่ วยไปยังจิตอำสำ  และจำก                                                     มาคอยบังคับ โดย “ซอล” ได้ใช้เวลำปิด
               ที่ต้ องการ                    จิตอำสำมำยังผู้ป่วยด้วย        ภำคเรี ยนประจ�ำที่ตึกศรี สังวำลย์
               น�้าใจ ความ                       รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ โรงพยำบำลศิริรำช คอยดูแลเข็นเก้ำอี้รถ
               เมตตากรุณา และการช่วยเหลือเกื้อกูล นริศ กิจณรงค์ กล่ำวต่อไปว่ำ จิตอาสา                  เข็นผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ “ซอล”
               กันและกัน ถ้ามีนักเรียน ๑๐,๐๐๐ คน                 ส่วนใหญ่มาสมัครด้วยความศรัทธาที่มี บอกรู้สึกประทับใจที่ขณะปฏิบัติหน้ำที่ได้
               มีการบันทึกการท�าความดี  ๑๐,๐๐๐                               ฟังผู้ป่วยบอกเล่ำถึงประสบกำรณ์ชีวิตที่
               กรณี  ถ้าท�าทุกปี  ทุกโรงเรียน  หรือทุก                       หลำกหลำย บำงรำยก็คุยอย่ำงสนุกสนำน
               มหาวิทยาลัย จะท�าให้คนได้รับรู้ในเรื่อง                       นอกจำกได้รู้จักผู้ป่วย ยังได้รู้จักเพื่อนใหม่
               การท�าความดีมากขึ้น ความดีก็จะมีพลัง                          ที่เป็นอำสำสมัครจำกต่ำงสถำบันอีกด้วย
               เกิดขึ้นในสังคม…”
                  “ศูนย์อาสาสมัครศิริราช”  จัดตั้ง
               ขึ้นด้วยความตระหนักถึงความส�าคัญ
               ของงานอาสาสมัครช่วยเหลือสังคม                           ต่อคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
               ที่ต้องกำรปลูกฝังควำมรู้สึกของกำรเป็น               มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งหลังจำกได้มีกำร
               “ผู้ให้” ไปยังบุคลำกรภำยในและคนใน เปิดตัวแอปพลิเคชัน Siriraj Connect
               สังคม ซึ่งที่ผ่ำนมำ นับตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ ได้มี เพื่อให้ผู้ป่วยเข้ำถึงบริกำรได้มำกขึ้น ได้มี
               บทบำทในงำนบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม กำรเปิดรับอำสำสมัครที่เป็นเยำวชนเพื่อ  การท�างานจิตอาสาได้ประโยชน์
               มำกมำย อำทิ งำนด้ำนกำรบริกำรทำงกำร เป็นก�ำลังส�ำคัญในกำรแนะน�ำให้ผู้ป่วย                      ทั้งผู้ที่ต้องการช่วยเหลือ และผู้ที่มา
               แพทย์และสุขอนำมัย กำรบรรเทำทุกข์                    สูงวัยได้เรียนรู้ในกำรใช้เทคโนโลยี   ท�างานจิตอาสา ในการพัฒนาทางด้าน
               ผู้ประสบภัยพิบัติ กำรสังคมสงเครำะห์ และ                       จิตใจที่จะช่วยเหลือผู้อื่นต่อไป โดยเฉพาะ
               ส่งเสริมคุณภำพชีวิต ฯลฯ                                       อย่างยิ่งในเยาวชนจะเกิดการพัฒนาทั้ง
                  รองศาสตราจารย์ นายแพทย์นริศ                                ทางร่างกายและจิตใจ ที่จะท�าให้เติบโต
               กิจณรงค์ รองคณบดีฝ่ำยสื่อสำรองค์กร                            เป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ได้ในอนาคต
               และกิจกรรมเพื่อสังคม คณะแพทยศำสตร์                              ติดตำมข่ำว “ศูนย์อาสาสมัครศิริราช”
               ศิริรำชพยำบำล มหำวิทยำลัยมหิดล                                ได้ที่ https://www.si.mahidol.ac.th/th/
               เปิดเผยว่ำ ในแต่ละปี ศิริราชต้องดูแล                          division/csr/ หรือ FB: CSR Siriraj



                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒       9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14