Page 6 - MU_1Jan63
P. 6

Special Article
             เขียนโดย นายพงษ์ศักดิ์ สกุลทักษิณ ศาสตราจารย์ ดร.ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
             สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
                ความคิดและความพยายามฆ่าตัวตายของวัยรุ่น : ครอบครัวนั้นส�าคัญไฉน?


                  “ในแต่ละวันจะมีประชากรโลกที่  ภำวะสุขภำพของนักเรียนในประเทศไทย
               เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย ๘ แสนคน  พ.ศ. ๒๕๕๘ (Thailand ๒๐๑๕ Global
               ซึ่งเป็ นสาเหตุการตายอันดับ ๒ ของ School – Based Student Health Survey
               ประชากรอายุ ๑๕-๒๙ ปี๑ ทั้งนี้ประชากร : GSHS)๓ ด้วยแบบจ�ำลองในกำรวิเครำะห์
               ไทยในปี ๒๕๖๑ มีอัตราการฆ่าตัวตาย Binary logistic regression ที่ประกอบ
               ส�าเร็จอยู่ที่  ๖.๓๔  คนต่อประชากร ด้วยคุณลักษณะทำงประชำกรและสังคม
               หนึ่งแสนคน หรือ ๔,๑๓๗ คน และใน อำรมณ์ควำมรู้สึก และปัจจัยด้ำนครอบครัว
               จ�านวนนี้เป็ นการฆ่าตัวตายส�าเร็จใน ซึ่งกว่ำครึ่งหนึ่งของตัวอย่ำงนักเรียน  สูงเป็น ๑.๔ เท่ำของนักเรียนในครอบครัว
               กลุ่มวัยรุ่นอายุ ๑๐ – ๒๔ ปี จ�านวน ๑๓๓  ที่ท�ำกำรศึกษำเป็นวัยรุ่นอำยุระหว่ำง ๑๓   ที่พ่อแม่เข้ำใจปัญหำและควำมวิตกกังวล
               คนหรือคิดเป็ นร้อยละ ๓.๒ ซึ่งมีแนว – ๑๕ ปี เป็นนักเรียนหญิงมำกกว่ำชำย   ดังนั้น “ความเข้าใจซึ่งกันและกัน” เช่น
                                       ๒
               โน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างน่าเป็ นห่วง ” จำก และส่วนใหญ่อยู่ในครอบครัวที่มีฐำนะทำง  กำรรับฟังและให้ค�ำปรึกษำในทุกปัญหำ
               ข้อมูลสถำนกำรณ์ดังกล่ำวกรมสุขภำพจิต  เศรษฐกิจและสังคมระดับปำนกลำง   โดยไม่ต�ำหนิ และพร้อมจะเป็นก�ำลังใจ
               กระทรวงสำธำรณสุข ได้ประกำศให้กำร  ผลของกำรวิเครำะห์ปัจจัยที่สัมพันธ์  และให้ควำมช่วยเหลือเพื่อคลี่คลำยปัญหำ
               ฆ่ำตัวตำยของวัยรุ่นเป็นวำระส�ำคัญของ กับควำมคิดและควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำย  จึงเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีที่สุดจำกครอบครัว
               ประเทศเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของกำร “รวม ของนักเรียนวัยรุ่น พบว่ำ ควำมรู้สึกโดด  ผลจำกงำนศึกษำชิ้นนี้ของเรำจึงเป็น
               พลังป้องกันการฆ่าตัวตาย” หรือ Work- เดี่ยว และควำมรู้สึกวิตกกังวลเป็นปัจจัย  อีกส่วนหนึ่งที่ร่วมสะท้อนสภำพปัญหำ
               ing Together to Prevent Suicide ที่เป็น หลักของควำมเสี่ยงต่อกำรมีควำมคิดและ  ของครอบครัวไทยที่ก�ำลังเปรำะบำงและ
               สำระส�ำคัญหลักขององค์กำรอนำมัยโลก  ควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำย ที่ส�าคัญ เรา  มีส่วนสัมพันธ์อย่ำงยิ่งต่อควำมคิดและ
               (WHO) ที่ก�ำหนดให้เป็นทิศทำงกำรรณรงค์ ได้ข้อค้นพบอีกว่ามีครอบครัวอยู่ ๓   ควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำยของบุตรหลำนวัย
               และขับเคลื่อนงำน เนื่องในวันสุขภำพจิต ลักษณะที่ท�าให้วัยรุ่นมีความเสี่ยงที่จะ  รุ่น ดังนั้น กำรส่งเสริมสัมพันธภำพภำยใน
               โลก ประจ�ำปี ๒๕๖๒              มีความคิดและความพยายามฆ่าตัวตาย   ครอบครัวด้วยควำมตระหนักในควำมเป็น
                  วัยรุ่นเป็นกลุ่มประชำกรที่อยู่ในช่วง โดยสำมำรถเรียงตำมล�ำดับควำมเสี่ยงที่  ส่วนตัว กำรดูแลเอำใจใส่ และเข้ำใจปัญหำ
               ของกำรค้นหำตัวเอง เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อ สัมพันธ์กับควำมคิดและควำมพยำยำมฆ่ำ  ซึ่งกันและกัน ให้เป็นส่วนหนึ่งของค�ำนิยำม
               ของชีวิต และมีกำรเปลี่ยนแปลงทั้งทำง ตัวตำยของนักเรียนวัยรุ่น   ครอบครัวอบอุ่น เพื่อให้ทุกฝ่ำยที่เกี่ยวข้อง
               ร่ำงกำย อำรมณ์ และสังคม ประชำกรวัย  ล�าดับที่ ๑ ครอบครัวที่มีพ่อแม่ชอบ  ร่วมกันส่งเสริมสัมพันธภำพในครอบครัว
               นี้จึงอยู่ท่ำมกลำงควำมเปรำะบำงต่อกำร ตรวจค้นสิ่งของโดยไม่ได้รับอนุญาต  ให้เป็นต้นทุนทำงสังคมส�ำคัญที่ท�ำให้บุตร
               เกิดปัญหำในทุกด้ำน โดยเฉพำะปัญหำที่ เป็นประจ�า ผลกำรศึกษำชี้ชัดว่ำนักเรียน  หลำนวัยรุ่นมีควำมเข้มแข็งสำมำรถเผชิญ
               เกี่ยวข้องกับอำรมณ์จิตใจ คนใกล้ชิดที่สุด ในครอบครัวที่มีพ่อแม่ลักษณะนี้มีควำม  กับภำวะเปรำะบำงทำงจิตใจได้อย่ำงมั่นใจ
               โดยเฉพำะ “ครอบครัว” จึงต้องให้ควำม เสี่ยงต่อกำรมีควำมคิดและควำมพยำยำม  ครอบครัว.....จึงเป็ นสถาบันทาง
               เข้ำใจ และเข้ำถึงปัญหำเพื่อหำทำงออก ฆ่ำตัวตำยสูงเป็น ๒ เท่ำเมื่อเทียบกับ  สังคมที่มีความส�าคัญอย่างยิ่งต่อการ
               อย่ำงมีส่วนร่วม เพรำะหำกปล่อยปัญหำ นักเรียนในครอบครัวที่พ่อแม่ไม่เคยตรวจ  เป็ นปัจจัยปกป้องคุ้มครองบุตรหลาน
               ทิ้งไว้ อำจท�ำให้ปัญหำควำมอ่อนไหวของ ค้นสิ่งของโดยไม่ได้รับอนุญำต และเมื่อ  ให้ห่างไกลจากความคิดและความ
               อำรมณ์จิตใจลุกลำมปำนปลำยจนกลำย น�ำปัจจัยอื่นๆ มำพิจำรณำร่วมด้วย จะ  พยายามฆ่าตัวตายได้อย่างดียิ่ง
               เป็นปัญหำสุขภำพจิตที่คุกคำมคุณภำพ เห็นได้ชัดเจนว่ำกำรเคำรพใน “ความเป็น
               ชีวิตของวัยรุ่นจนท�ำให้มีควำมคิดและควำม ส่วนตัว”  เป็นเงื่อนไขส�ำคัญที่พ่อแม่                                                                  เอกสำรอ้ำงอิง
               พยำยำมฆ่ำตัวตำย ซึ่งหำกท�ำส�ำเร็จก็จะ ต้องให้ควำมเป็นอิสระและเคำรพในสิทธิ  ๑.  World  Health  Organization.
               ยิ่งกลำยเป็นโศกนำฏกรรมที่ยำกเกินกว่ำที่ ส่วนบุคคลของบุตรหลำน  (๒๐๑๙). Preventing suicide: a resource
                                                                             for filmmakers and others working on stage
               ครอบครัวหนึ่งจะรับได้และอำจกลำยเป็น  ล�าดับที่ ๒ ครอบครัวที่มีพ่อแม่ไม่  and screen. Geneva : World Health Orga-
               วงจรของพฤติกรรมของคนในครอบครัวต่อ เคยรู้จริงว่าบุตรหลานวัยรุ่นก�าลังท�า  nization; ๒๐๑๙ (WHO/MSD/MER/๑๙.๔).
               เนื่องต่อไปเป็นวัฏจักรไม่รู้จบ   อะไรในเวลาว่าง นักเรียนในครอบครัว License: CC BY-NC-SA ๓.๐ IGO.
                  “ถึงเวลาแล้วหรือยัง?  ที่ทุกฝ่ ายที่ ที่มีพ่อแม่ลักษณะนี้มีควำมเสี่ยงต่อกำรมี  ๒.  กรมสุขภาพจิต.(๒๕๖๒).ฆ่าตัวตาย
               เกี่ยวข้องจะต้องร่วมมือกันป้องกันและ ควำมคิดและควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำยสูง ๑๑ รายต่อวัน!! วัยรุ่น-วัยเรียนสุดอันตราย
               แก้ไขปัญหาให้ตรงจุดที่เหตุปัจจัย”   กว่ำนักเรียนในครอบครัวลักษณะตรงข้ำม  เสี่ยงความเครียดระเบิด.สืบค้น วันที่ ๑๔
                  ครอบครัวเป็นสถำบันทำงสังคมส�ำคัญ ๑.๘ เท่ำ ดังนั้น “ความเอาใจใส่” ในวิถีชีวิต  พฤศจิกายน ๒๕๖๒, จาก https://www.dmh.
               ที่ใกล้ชิดวัยรุ่น ท�ำให้ครอบครัวจึงเป็นทั้ง ประจ�ำวันของบุตรหลำนที่ไม่ใช่กำรตีควำม  go.th/news-dmh/view.asp?id=๒๙๕๙๓
               ปัจจัยป้องกันและปัจจัยเสี่ยงต่อควำมคิด ทึกทักไปเองและเข้ำใจแต่ในมุมมองด้ำนลบ   ๓.  พงษ์ศักดิ์ สกุลทักษิณ ปัทมา ว่า
               และควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำยของวัยรุ่น..... จึงเป็นอีกเงื่อนไขส�ำคัญที่เป็นพื้นฐำนของ  พัฒนวงศ์ และอรอุมา โภคสมบัติ.(๒๕๖๒).
               แล้วมีครอบครัวแบบไหนบ้ำง? ที่เป็นปัจจัย สัมพันธภำพในครอบครัว  ความเปราะบางทางจิตใจของเยาวชนไทย:
               เสี่ยงส�ำคัญต่อควำมคิดและควำมพยำยำม  ล�าดับที่ ๓ ครอบครัวที่มีพ่อแม่ไม่  ความคิดและความพยายามฆ่าตัวตายของ
                                                                             นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา.ใน การประชุมวิชาการ
               ฆ่ำตัวตำยของวัยรุ่น            เข้าใจปัญหาและความวิตกกังวลของ  ประชากรศาสตร์แห่งชาติ  ประจ�าปี  พ.ศ.
                  จำกกำรศึกษำปัจจัยครอบครัวที่สัมพันธ์ บุตรหลานวัยรุ่น นักเรียนในครอบครัว  ๒๕๖๒.กรุงเทพฯ: สมาคมนักประชากรไทย.
               กับควำมคิดและควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำย ที่มีพ่อแม่ลักษณะนี้มีควำมเสี่ยงต่อกำร
               ของวัยรุ่น ที่วิเครำะห์จำกข้อมูลกำรส�ำรวจ มีควำมคิดและควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำย


    6     January 2020                                            M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11