Page 21 - MU_4apr63
P. 21
Research Excellence
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
นักวิจัยม.มหิดลคิดค้นผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ส�าหรับผู้ป่วยเบาหวานด้วยวัตถุดิบจากข้าวไทยครั้งแรก
ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วย และเศรษฐกิจของประเทศ
จากสถิติของกรมอนามัย กระทรวง อย่างรวดเร็ว ประกอบกับผลิตภัณฑ์ต้องมี
สาธารณสุข พบว่า ระหว่างปี ๒๕๕๔ – ลักษณะทางกายภาพที่เหมาะสม
๒๕๖๐ ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากโรค ส�าหรับการให้ทางสายให้อาหาร อีกทั้ง
เบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๑๑ เป็นร้อยละ ยังมีการใช้โปรตีนที่เน้นโปรตีนจากพืช
๒๑ ชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มของอุบัติการณ์ ผสมกันในสัดส่วนที่ท�าให้ได้กรดอะมิ
ของโรคเบาหวานที่นับวันจะทวีความรุนแรง โนที่จ�าเป็ นครบถ้วนเพียงพอต่อการ
ขึ้นเรื่อยๆ จนรัฐต้องมีการรณรงค์กันอย่าง สร้างโปรตีนชนิดต่างๆ ในร่างกาย เป็น
จริงจังเพื่อลดจ�านวนอัตราเสี่ยงต่อการเป็น ทางเลือกส�าหรับผู้ป่วยบางรายที่มีการ
โรคเบาหวานกันอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน แพ้โปรตีนนม หรือไข่ โครงการวิจัยได้มี
เนื่องจาก “ข้าว” เป็นพืชอาหารที่ส�าคัญ การคิดค้นสูตรและกระบวนการผลิตภาย
ชนิดหนึ่งของโลก และนับเป็นพืชเศรษฐกิจ ใต้แนวคิด “การแยกส่วนของข้าวออก แล้ว
ของประเทศไทย โดยถือเป็นหนึ่งในประเทศ เติมกลับเข้าในผลิตภัณฑ์เพื่อปรับปรุงให้ได้
ที่มีบทบาทมากที่สุดในการส่งออกข้าว คุณลักษณะที่ต้องการ” หรือ “remove to
ซึ่งจากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย improve” เพื่อให้สามารถน�าข้าวไทยมาใช้
ระบุว่าไทยส่งออกข้าวเกือบ ๔ แสนตัน เป็นส่วนประกอบหลักของผลิตภัณฑ์และ
ในปี ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ผลิตเพื่อจ�าหน่ายได้ในระดับอุตสาหกรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภัทร์ ไชยกุล น�้านม ยังไม่พบว่ามีการใช้ข้าวเป็ น “การด�าเนินโครงการวิจัยแบ่งออก
ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ วัตถุดิบในผลิตภัณฑ์ดังกล่าว อีกทั้ง เป็ น ๓ ส่วนหลัก คือ ส่วนของการ
มหาวิทยาลัยมหิดล หัวหน้าโครงการวิจัย เป็นความต้องการของผู้ป่วยคนไทยที่ชอบ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ส่วนของการทดสอบ
ที่ได้รับทุนจาก ส�านักงานพัฒนาการวิจัย บริโภคข้าวมากกว่าอาหารทางการแพทย์ ความปลอดภัยและประสิทธิภาพของ
การเกษตร (องค์การมหาชน) - สวก. ได้ริเริ่ม ที่มีส่วนผสมของน�้านม นอกเหนือจาก ผลิตภัณฑ์โดยใช้สัตว์ทดลอง และ
โครงการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คาร์โบไฮเดรตแล้ว ข้าวยังมีสารอาหารที่ ส่วนของการศึกษาทางคลินิกกับผู้ป่วย
ทางการแพทย์ส�าหรับผู้ป่ วยเบาหวาน เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพได้แก่ สารกลุ่ม ที่ด�าเนินงานภายใต้ทีมวิจัยจากแพทย์
โดยใช้ข้าวเป็นวัตถุดิบหลักเพื่อทดแทน แกมมาโอไรซานอล ไฟโตสเตอรอล วิตามินอี เภสัช โภชนาการ และวิทยาศาสตร์ใน
ผลิตภัณฑ์น�าเข้าจากต่างประเทศ โดยได้ วิตามินเค ไทอามิน ไรโบฟลามิน ไนอาซิน สาขาต่างๆ เป็นความร่วมมือจากหลาย
เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัยว่า เนื่องจาก วิตามินบี ๖ และมีกากใยอาหารสูง อีกทั้ง คณะและหน่วยงานภายใต้มหาวิทยาลัย
ผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์ส�าหรับ ข้าวเป็นอาหารที่ไม่ก่อให้เกิดการแพ้ มหิดล ที่มีการท�างานที่สอดประสานกัน
ผู้ป่วยเบาหวาน มีความจ�าเป็นส�าหรับผู้ป่วย (hypoallerginic) ไม่มีกลูเทน (Gluten free) โดยด�าเนินงานวิจัยร่วมกับบริษัทเอกชน
และมีความต้องการเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ข้อดีจากการใช้ข้าวไทยเป็นวัตถุดิบใน ผู้ผลิต เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในคุณภาพ
ตามจ�านวนผู้ป่วยหรือแม้กระทั่งผู้ที่ต้องการ การผลิตก็คือ ช่วยลดต้นทุนการผลิต ของผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์ส�าหรับ
ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดที่เพิ่มมากขึ้น แล้วยังเป็ นการท�าให้ข้าวไทยมีมูลค่า ผู้ป่วยที่มีเบาหวาน โดยตั้งเป้าผลิตออกสู่
ผลิตภัณฑ์ที่จ�าหน่ายในตลาดส่วนใหญ่ เพิ่มขึ้น และช่วยให้เกษตรกรขายข้าว ตลาดภายในต้นปี ๒๕๖๔ ทั้งชนิดพร้อม
น�าเข้ามาจากต่างประเทศ มีราคาแพง ได้มากขึ้นอีกด้วย บริโภคและชนิดผงชงละลาย ที่มีอายุ
และไม่สามารถเบิกได้ตามสิทธิ์การ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภัทร์ ไชยกุล การเก็บรักษานานกว่า ๑ ปี ที่ให้ความ
รักษา ผู้ป่วยที่มีความจ�าเป็นต้องบริโภค กล่าวต่อไปว่า สะดวก สะอาด และสารอาหารที่ครบถ้วน
ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายสูง ดังจะเห็นได้ว่า อาหารทางการ ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ป่วยที่มี
การบริโภคผลิตภัณฑ์ ๑ มื้ออาหาร มีค่าใช้จ่าย แพทย์ส�าหรับผู้ เบาหวาน และผู้ที่ต้องการควบคุมระดับ
ประมาณ ๖๐ บาทขึ้นไป เฉลี่ยต่อวันที่ ๕ ป่วยเบาหวานที่ น�้าตาลในเลือด ซึ่งผลงานวิจัยได้มีการจด
มื้ออาหาร คือประมาณ ๓๐๐ บาทต่อวัน คิดค้นขึ้นนี้มีสูตร อนุสิทธิบัตรแบบ non-exclusive
ด้วยเหตุนี้จึงมีการวิจัยถึงการพัฒนา และกระบวนการ เพื่อเปิดโอกาสให้มีการต่อยอดผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์อาหารทางการแพทย์ให้สามารถ ผลิตที่มีความ ให้พัฒนาขึ้นเรื่อยๆ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
ผลิตเพื่อจ�าหน่ายได้ในประเทศไทย จากข้าว เฉพาะ เพื่อให้ได้ ของผู้ป่วยเบาหวาน และส่งเสริมเศรษฐกิจ
ที่เราปลูกเองในประเทศไทยมาใช้เป็น ผลิตภัณฑ์ที่ให้ ไทยอีกด้วย” ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วัตถุดิบ โดยการสนับสนุนข้อมูลจาก พลังงานและสารอาหารเพียงพอกับความ ดร.สุภัทร์ ไชยกุล กล่าวทิ้งท้าย
กรมการข้าว กระทรวงการเกษตรและ ต้องการของร่างกายสามารถช่วยในการ
สหกรณ์ เพื่อให้ได้สายพันธุ์ข้าวที่เหมาะสม ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดของผู้ป่วย *ขอขอบคุณภาพประกอบจาก
ต่อการน�ามาท�าผลิตภัณฑ์ ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ดร.กนิษฐา เทพสุด คุณสาธิดา ศรีชาติ
ที่ผ่านมา อาหารทางการแพทย์ที่เป็น โจทย์ ที่ น่ าสนใจมี อยู่ ว่ า และ คุณจิรวรรษ อรรฆยเวที
ผลิตภัณฑ์ทดแทนคาร์โบไฮเดรตส่วน คาร์โบไฮเดรตที่มีอยู่ในผลิตภัณฑ์
ใหญ่จะใช้แป้งดัดแปลงจากข้าวโพด จะต้องไม่ดูดซึมอย่างรวดเร็ว หรือ
หรือมันส�าปะหลัง และใช้โปรตีนจาก ท�าให้น�้าตาลในเลือดของผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
มหิดลสาร ๒๕๖๓ 21