Page 18 - MU_4apr63
P. 18
Harmony in Diversity
มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร ว่าควรให้คนรู้จักประมาณตน
มีเหตุผลในการด�าเนินงานและใช้ชีวิต
มีภูมิคุ้มกันตนเอง รู้จักพึ่งพาตนเองก่อน
พึ่งพาผู้อื่น ซึ่งก่อให้เกิดความอยู่รอด
อยู่อย่างพอเพียง และน�าสู่ความยั่งยืน”
“บทบาทของสถาบันพัฒนาสุขภาพ ในการพัฒนาสุขภาพของท้องถิ่น ให้มีทักษะ ท�าให้การสาธารณสุขมูลฐาน (Primary
อาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล ในระดับประเทศ การจัดการและภาวะผู้น�าแบบใหม่ที่สามารถ Health Care: PHC) มีความเข้มแข็ง ซึ่ง
คือ พัฒนาผู้น�าด้านการจัดการสุขภาพ รวมถึง บริหารจัดการให้เกิดหลักประกันสุขภาพใน ปัจจุบันทั่วโลกยอมรับเรื่องนี้และได้มีการลง
ผู้น�าในระบบบริการสุขภาพและภาค ระดับพื้นที่ (ท้องถิ่น) อย่างครอบคลุมและ นามในปฏิญญาแอสทานา เมื่อ ค.ศ. ๒๐๑๘
ประชาชนให้มีความสามารถในการบริหาร ยั่งยืน โดยมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดย โดยมีเรื่องส�าคัญที่ทุกประเทศจะต้องน�า
จัดการแบบใหม่ที่ทันสมัย ด้วยภาวะผู้น�าแบบ คณาจารย์ของสถาบันฯ และผู้เชี่ยวชาญที่มี ไปด�าเนินการอยู่ ๓ ประการ คือ ๑. ท�า
ใหม่ ที่ท�าให้ประชาชนและชุมชนเกิดการมี ความรู้และประสบการณ์ รวมถึงการศึกษา อย่างไรให้เกิดการให้บริการสุขภาพที่มี
ส่วนร่วมในการท�างานพัฒนาระบบสุขภาพ เพิ่มเติมต่อเนื่องด้วยตนเองเป็นระยะเวลา ลักษณะบูรณาการและมีประชาชนเป็น
ของตนเอง โดยสถาบันฯร่วมมือกับภาคีเครือ ๓ เดือนหลังเข้ารับการอบรม โดยจะมีการ ศูนย์กลาง โดยเน้นที่การมีระบบบริการ
ข่ายทั้งในและต่างประเทศ โดยบทบาทใน ติดตาม ประเมินผล และสนับสนุนการเรียนรู้ ปฐมภูมิที่เข้มแข็ง ๒.ท�าอย่างไรที่จะ
ระดับนานาชาติ คือ เป็นตัวกลางของ จากทีมคณาจารย์จากสถาบันพัฒนาสุขภาพ ท�าให้ประชาชนได้รับการเสริมพลังให้
ประเทศในการประสานงานและสร้าง อาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล สปสช. และผู้ทรง สามารถดูแลตนเองได้ ไม่ใช่เป็นเพียง
เครือข่ายกับผู้น�าทางด้านสาธารณสุขของ คุณวุฒิระดับชาติอย่างต่อเนื่อง ผู้รับบริการ แต่เป็นผู้ร่วมก�าหนด หรือ
นานาชาติในรูปแบบต่างๆ เช่น การศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ ออกแบบการจัดบริการ (Co-producer)
ดูงานการจัดการระบบสุขภาพของไทย ภูดิท เตชาติวัฒน์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัย ตลอดจนสามารถเป็นผู้บริบาล (Care
การฝึกอบรมระยะสั้น รวมทั้งการเรียน มหิดล โดย สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน Giver) สามารถให้การดูแลครอบครัว
ในระดับปริญญาโท ด้านการจัดการการ จะมีความร่วมมือกับองค์กร NGO ระดับ ตนเองและเพื่อนบ้านได้ และ ๓. การ
สาธารณสุขมูลฐาน หลักสูตรนานาชาติ” นานาชาติ ชื่อ “The Constellation” ซึ่งน�าโดย สนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ Dr.Jean-Louis Lamboray ซึ่งเป็น Adjunct ภาคส่วนในการก�าหนดมาตรการ และ
ภูดิท เตชาติวัฒน์ กล่าว Professor ของสถาบันฯ และเป็นผู้ประพันธ์ นโยบายที่สนับสนุนการมีสุขภาวะ
มหาวิทยาลัยมหิดล โดย สถาบันพัฒนา หนังสือ What Makes Us Human? ท่านเคย ซึ่งความเข้มแข็งของชุมชนจนถึงระดับ
สุขภาพอาเซียน ได้มีการท�าข้อตกลงร่วมกับ ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับ นายแพทย์สงวน การเป็นเจ้าของหลักประกันสุขภาพของ
ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นิตยารัมภ์พงศ์ ผู้ริเริ่มหลักประกันสุขภาพ ชุมชนเป็นหัวใจส�าคัญในการสร้างหลัก
(สปสช.) เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้าง ถ้วนหน้าของประเทศไทย โดย Dr.Jean-Louis ประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน และ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในการสนับสนุน Lamboray และคณะ ได้ศึกษาและทดลอง น�าสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่
ภาคท้องถิ่นและภาคประชาชนในการมีส่วน พัฒนารูปแบบการสร้างความเข้มแข็งของ ยั่งยืน โดยเราคาดหวังให้ผู้น�าท้องถิ่นหรือ
ร่วมและเป็นเจ้าของในการพัฒนาระบบหลัก ชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพที่ซับซ้อน ผู้น�าชุมชนที่จะเข้าร่วมการอบรมนี้ได้เป็น
ประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระดับพื้นที่ โดย โดยน�าบทเรียนที่ได้รับประสบการณ์จากการ ผู้น�าการเปลี่ยนแปลงที่จะช่วยเผยแพร่
คาดหวังให้เกิดรูปแบบที่สามารถน�าไปขยาย แก้ไขปัญหาการติดเชื้อ HIV และโรคเอดส์ เรื่องนี้ต่อไป”
ผลในระดับนานาชาติ โดยการด�าเนินการ ของชุมชนในจังหวัดพะเยา ไปประยุกต์ใช้ใน “การที่เราจะท�าให้เกิดการมีสุขภาพดี
ดังกล่าวสอดคล้องกับวาระสุขภาพโลก บริบทของประเทศก�าลังพัฒนาอื่นๆ รวมถึง จ�าเป็นต้องมีส่วนร่วมของทุกคนในสังคม
ในการบรรลุหลักประกันสุขภาพถ้วน การแก้ไขปัญหาสังคมในประเทศที่พัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาสุขภาพในปัจจุบัน
หน้า (Universal Health Coverage: UHC) แล้วด้วย โดยได้รูปแบบการจัดการที่มีชื่อ มีความซับซ้อนเปลี่ยนแปลงรวดเร็วและส่วน
และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก ย่อว่า SALT ทั้งนี้ The Constellation ยินดี ใหญ่มักเกิดจากปัจจัยก�าหนดทางด้านสังคม
(Sustainable Development Goals: SDGs) ที่จะร่วมมือกับสถาบันฯในการขยายผล ซึ่งการสาธารณสุขมูลฐานเป็นวิชาการที่
ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ และนโยบายของ องค์ความรู้ดังกล่าวไปยังจังหวัดอื่นๆของ ส�าคัญที่จะมาแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งจ�าเป็น
รัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก ประเทศไทยและแพร่ขยายไปยังประเทศต่างๆ ต้องมีผู้บริหารสุขภาพที่มีทักษะการจัดการ
รัฐมนตรี ที่ได้กล่าวถ้อยแถลงในการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคอาเซียนอีกด้วย และภาวะผู้น�าแบบใหม่ที่เข้าใจชุมชนเข้าใจ
ประชุมคู่ขนานของการประชุมสมัชชา ทั้งนี้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ การสาธารณสุขมูลฐาน สถาบันพัฒนา
สหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ให้ ประเวศ วะสี กรรมการสภามหาวิทยาลัย สุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล
ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ มหิดลผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้แนะน�าให้ มีความมุ่งมั่นที่จะเป็ นส่วนหนึ่งของ
เพื่อสนับสนุนการพัฒนาด้านหลักประกัน ทางสถาบันฯ ได้รู้จักกับ Dr.Jean-Louis สังคมในการช่วยผลิตและพัฒนาผู้น�า
สุขภาพถ้วนหน้าให้แก่นานาชาติ Lamboray การจัดการสุขภาพเพื่อสนับสนุนการ
เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย “ประเทศไทยของเราเป็นตัวอย่างที่ดี สร้างความร่วมมือของประชาชน ตลอด
สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน ได้ร่วมกับ และเป็นแนวหน้าในการพัฒนาหลักประกัน จนภาคส่วนต่างๆให้เกิดพลังขับเคลื่อน
สปสช. พัฒนาหลักสูตรพัฒนาสมรรถนะ สุขภาพถ้วนหน้า นับตั้งแต่การประกาศ ในการพัฒนาระบบสุขภาพของตนเอง
ผู้น�าการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างหลัก ปฏิญญาอัลมาอะต้า ค.ศ. ๑๙๗๘ ซึ่งมี อย่างยั่งยืนให้กับประเทศไทยและเป็น
ประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เพื่อพัฒนา เป้าหมายการบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้า แบบอย่างให้กับนานาประเทศต่อไป”
ผู้น�าและบุคลากรจากองค์กรปกครอง ภายในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ หัวใจส�าคัญที่จะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ ภูดิท
ส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีอยู่เกือบ ๘,๐๐๐ คนจาก ท�าให้ระบบสุขภาพของประเทศบรรลุ เตชาติวัฒน์ กล่าวทิ้งท้าย
ทั่วประเทศ รวมทั้งนักวิชาการ และผู้ที่สนใจ เรื่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าคือการ
18 April 2020 M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership