Page 17 - MU_4apr63
P. 17
Special Article
ผศ.ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
จะดีไหม...ถ้าผู้ชายได้วันลามาเลี้ยงลูกบ้าง
หากพูดถึงการเลี้ยงลูก คนส่วนใหญ่มัก ด้วย งานวิจัยในประเทศสเปน พบว่าการ
ต้องนึกถึงผู้หญิงเป็นหลัก บทบาทของแม่ ที่พ่อลามาช่วยเลี้ยงลูก ช่วยเพิ่มโอกาส
ในการเลี้ยงลูก ใครๆ ก็รู้ว่าส�าคัญ เพราะแม่ ในการกลับเข้าท�างานของแม่ได้ถึงร้อย
เป็นตั้งแต่คนอุ้มท้อง คนคลอด และคนให้ ละ ๑๑๒ ส่งผลให้แม่มีความมั่นคงทาง
นม เกือบทุกประเทศทั่วโลกมีการก�าหนดวัน เศรษฐกิจมากขึ้น และเป็นการช่วยลด
ลาคลอดให้กับแม่ สั้นบ้าง ยาวบ้าง แล้วแต่ ความเหลื่อมล�้าระหว่างเพศในสังคมอีก
บริบทของแต่ละประเทศ แต่ส�าหรับพ่อนี่สิ มี ด้วย
เพียงไม่กี่ประเทศที่จะมีสวัสดิการให้พ่อได้ลา
มาเลี้ยงลูก ทั้งๆ ที่บทบาทของพ่อก็ส�าคัญไม่ ดีต่อลูก
แพ้กัน วันนี้จึงอยากขอยกตัวอย่างงานวิจัยใน การมีส่วนร่วมของพ่อในการเลี้ยงลูกตั้งแต่ ฟังอย่างนี้แล้ว เห็นประโยชน์ของวันลาของ
ต่างประเทศ เพื่อจะชี้ให้เห็นว่า การมีวันลาให้ แรกเกิด ส่งผลดีต่อลูกทั้งในระยะสั้นและระยะ พ่อหรือยังคะส�าหรับประเทศไทย จริงๆ เริ่มมี
พ่อนั้นดีอย่างไร ยาว งานศึกษาในสวีเดนพบว่า การที่พ่อได้ การตื่นตัวในเรื่องนี้อยู่บ้าง เห็นได้จากที่ภาค
ใช้วันลาเพื่อเลี้ยงลูก ท�าให้พ่อได้มีส่วน รัฐอนุญาตให้ข้าราชการชายสามารถลา
ดีต่อแม่ ร่วมในการเลี้ยงลูกในช่วงปีแรกมากขึ้น ติดต่อกันได้ไม่เกิน ๑๕ วันท�าการ เพื่อช่วย
การที่พ่อได้วันลามาช่วยเลี้ยงลูกนั้นดีต่อ และช่วยเพิ่มโอกาสลูกได้กินนมแม่ครบ ภรรยาเลี้ยงดูลูกหลังคลอดตามประกาศ
แม่แน่นอน เพราะจะช่วยแบ่งเบาแม่ได้มาก ๖ เดือนตามที่องค์การอนามัยโลกแนะน�า ในพระราชกิจจานุเบกษาปี ๒๕๕๕ จาก
เคยอ่านบทความของคุณหมอประเสริฐ ผลจากงานวิจัยนี้น่าสนใจทีเดียว เพราะชี้ให้ ก้าวแรกนี้ ควรด�าเนินการต่อโดยขยาย
ผลิตผลการพิมพ์ ท่านเขียนไว้ได้ถูกใจ เห็นว่าการกินนมแม่ไม่ได้เกี่ยวข้องแต่กับแม่ สิทธิให้ครอบคลุมคนในวงกว้างมาก
มากว่าหน้าที่ของพ่อที่ส�าคัญที่สุด คือ “หาร เท่านั้น แต่เกี่ยวกับคนรอบตัวแม่ด้วย งาน ขึ้นเพิ่มวันลาให้นานขึ้น และเพิ่มความ
สองทุกงานที่แม่ท�า” โดยท�าแบบ “ไม่ต้อง ศึกษานี้อธิบายว่า การมีคนคอยสนับสนุนและ ยืดหยุ่นมากขึ้น อาจเป็นรูปแบบคล้ายๆ กับ
คิด ไม่ต้องถาม คอยหารสองก็พอ” แปล ให้ก�าลังใจแม่ เป็นปัจจัยส�าคัญในการเพิ่ม โควตาวันลาของพ่อในต่างประเทศ เช่น สมมติ
ว่า บทบาทของพ่อก็คือบทบาทของแม่ ไม่ได้ โอกาสการให้นมแม่ได้อย่างต่อเนื่องยาวนาน พ่อมีโควตาวันลาเลี้ยงลูก ๓๐ วัน พ่อสามารถ
แตกต่างกัน เพราะฉะนั้น ถ้าช่วยกันหารสอง ซึ่งคนที่จะใกล้ชิดแม่มากที่สุด ก็คือ พ่อนั่นเอง เลือกลาเมื่อไหร่ก็ได้ภายใน ๑ ปีแรกหลังลูก
แม่ย่อมเหนื่อยน้อยลงแน่นอน นอกจากนี้ ผู้ คลอดตามความต้องการและความเหมาะสม
หญิงหลายคนมีอาการซึมเศร้าหลังคลอด ด้วย ดีต่อครอบครัว ของแต่ละครอบครัว โดยไม่จ�าเป็นต้องก�าหนด
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ความเครียด งานศึกษาในประเทศนอร์เวย์พบว่า การ ให้ลาติดต่อกันไปเลยทีเดียว
และความรู้สึกกังวลต่างๆ ที่ถาโถมมากับ อนุญาตให้พ่อลาเลี้ยงลูกได้ ส่งผลให้ความ ทุกวันนี้ ผู้หญิงและผู้ชายมีบทบาทใน
การเป็นแม่มือใหม่ ซึ่งงานวิจัยพบว่าการ สัมพันธ์ในครอบครัวดีขึ้น โดยพบว่าใน ตลาดแรงงานไม่แตกต่างกันมากแล้ว การ
ที่พ่อมีส่วนร่วมในการช่วยเลี้ยงลูก ช่วย ครอบครัวจะมีความขัดแย้งลดลงถึงร้อยละ มีนโยบายให้พ่อลาเลี้ยงลูกจะเป็นก้าวส�าคัญ
ลดความรุนแรงของอาการซึมเศร้าหลังค ๑๑ และเพิ่มโอกาสที่จะแบ่งงานบ้านอย่าง ในการช่วยลดความแตกต่างของบทบาทชาย
ลอดของแม่ได้ เท่าเทียมกันมากขึ้นถึงร้อยละ ๕๐ จะเห็นได้ หญิงในบ้านด้วย ซึ่งจะช่วยส่งเสริมสถาบัน
นอกจากนี้ การมีวันลาให้พ่อยังช่วยใน ว่า การที่พ่อมีโอกาสอยู่บ้านเลี้ยงลูกมากขึ้น ครอบครัวให้เข้มแข็งยิ่งขึ้นต่อไป
เรื่องความก้าวหน้าทางการงานของแม่ได้อีก ส่งผลไปยังการแบ่งงานอื่นๆ ในบ้านอีกด้วย
ม.มหิดล จัดอบรมเสริมพลังผู้น�าสุขภาพท้องถิ่นทั่วไทย พร้อมขยายผลสู่ภูมิภาคอาเซียน
จากค�าประกาศ Alma-Ata ขององค์การ สุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าว Harmony in Diversity
อนามัยโลก ว่าด้วยการสาธารณสุขมูลฐาน ว่า งานสาธารณสุขมูลฐาน เป็นรากฐาน สัมภาษณ์ และเขียนข่าวโดย ฐิติรัตน์ เดชพรหม
(Primary Health Care) ที่ประเทศไทยได้เริ่ม ส�าคัญของการพัฒนางานสาธารณสุข ภาพโดย ศรัณย์ จุลวงษ์
น�างานสาธารณสุขมูลฐานมาใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ของประเทศ โดยตลอด ๓๖ ปีที่ผ่านมา ตรวจข่าวโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ภูดิท เตชาติวัฒน์
ผู้อ�านวยการสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล
๒๕๒๑ ให้การรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ใน สถาบันพัฒนา
โรงพยาบาล ได้พัฒนาสู่งานชุมชน จากงาน สุขภาพอาเซียน หน้าที่ประสานงานระหว่างระบบบริการจาก
บริการดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้น สู่งานบริการ มหาวิทยาลัย แพทย์ พยาบาล และผู้ประกอบวิชาชีพทาง
สาธารณสุขมูลฐาน จนเกิด “อาสาสมัคร มหิดล ได้เติบโต ด้านสาธารณสุข โดยในอดีตแนวคิดดังกล่าว
สาธารณสุข” หรือ อสม. ที่ยกระดับจากอาสา มาควบคู่กับการ ถือว่าใหม่มาก เนื่องจากเมื่อก่อนเวลาเราพูด
สมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน พัฒนางาน และ ถึงเรื่องสุขภาพ คนจะนึกถึงแค่เรื่องการรักษา
รัฐบาลได้ก�าหนดให้วันที่ ๒๐ มีนาคม การฝึ กอบรม โรค เรื่องของแพทย์ พยาบาล หรือการให้
ของทุกปีเป็น “วันอาสาสมัครสาธารณสุข ด้านการจัดการ บริการที่จะต้องใช้เทคโนโลยีจากผู้ประกอบ
แห่งชาติ” เพื่อเป็นการให้ความส�าคัญของ สาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทย ที่เน้น วิชาชีพ แต่งาน อสม. เป็นการเสริมพลัง
อาสาสมัครสาธารณสุข ที่พัฒนาสุขภาพดี ให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพแนวใหม่ที่ ให้กับประชาชน โดยท�าให้มีความรอบรู้
ถ้วนหน้า (Health For All) มาสู่คุณภาพชีวิต ท�าให้เกิดการดูแลรักษาสุขภาพแบบองค์รวม ทางด้านสุขภาพมากขึ้น จนท�าให้สามารถ
ที่ดี ตามภาวะกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลง ทั้ง ที่ค�านึงถึงสุขภาวะในทุกมิติ เพื่อให้ประชาชน ดูแลตนเอง และครอบครัวได้ในระดับ
ในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี มีสุขภาพดีอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม หนึ่ง ท�าให้สามารถพึ่งพาตนเองก่อนที่
และสิ่งแวดล้อม “การพัฒนาระบบสุขภาพโดยผ่าน จะไปพึ่งพาระบบบริการ ซึ่งสอดคล้อง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ภูดิท นวัตกรรมของงานอาสาสมัครสาธารณสุข กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
เตชาติวัฒน์ ผู้อ�านวยการสถาบันพัฒนา นั้น เป็นการท�าให้ประชาชนได้มีตัวแทนที่ท�า พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหิดลสาร ๒๕๖๓ 17