Page 20 - MU_4apr63
P. 20
Internationalization
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
ม.มหิดล ประยุกต์องค์ความรู้เพื่อมวลมนุษยชาติ
ด�าเนินโครงการส�ารวจสุขภาพประชาชนลาว ด้านโรคไม่ติดต่อ
ประเทศไทย และสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
เปรียบเหมือนบ้านพี่เมืองน้องที่มีความ
ใกล้ชิดทางเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และ
วัฒนธรรม โดยในปี ๒๕๖๓ ถือเป็นปีครบ
รอบ ๗๐ ปีความสัมพันธ์ทางการทูตไทย
- สปป.ลาว
รัฐบาลไทย โดย กรมความร่วม แนวโน้มของปัญหา เพื่อการวางนโยบาย คุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
มือระหว่างประเทศ กระทรวงการ เพื่อการรณรงค์ป้องกันอย่างยั่งยืน โดย เพื่อให้ทางสปป.ลาวได้สามารถใช้ให้
ต่างประเทศ (Thailand International ทางคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล เป็นประโยชน์ในการด�าเนินการได้เอง
Cooperation Agency : TICA) ได้ร่วม รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้มี ต่อไป ซึ่งโรค NCDs อย่างเช่น โรคความ
กับรัฐบาล สปป.ลาว ด�าเนินโครงการ ความสัมพันธ์เชิงวิชาการกับทาง Lao ดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานนั้น พบว่า
ส�ารวจสุขภาพประชาชนลาว ด้าน Tropical and Public Health Institute ส่วนใหญ่จะป่วยกันโดยไม่รู้ตัว บางราย
โรคไม่ติดต่อ เพื่อน�าผลไปใช้ในการ (Lao TPHI) อยู่แล้ว จึงได้ร่วมกันด�าเนิน ไม่มีอาการ จากผลการส�ารวจจะท�าให้เรา
วางแผนด้านนโยบายสาธารณสุขของ โครงการส�ารวจสุขภาพประชาชนลาว สามารถแก้ปัญหาในเรื่องดังกล่าวให้กับ
ประเทศ ซึ่งเป็นหนึ่งในแผนงานความร่วม ในด้านดังกล่าว โดยมีการเปรียบเทียบ ประชาชนลาวได้อย่างตรงจุดมากยิ่งขึ้น
มือเพื่อการพัฒนาไทย - ลาว ระยะ ๓ ปี วิธีการเก็บข้อมูล และปรับวิธีการ เป็นการน�าองค์ความรู้ที่เรามีอยู่ไปประยุกต์
(พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) สาขาสาธารณสุข ส�ารวจให้สอดคล้อง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ ใช้ เพื่อประโยชน์สุขแก่มวลมนุษยชาติ
โดยได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อเร็วๆ นี้ เป็นมาตรฐานสากล และให้หน่วยงาน อย่างที่แท้จริง ตามพระราชด�ารัสของ
ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์วิชัย สาธารณสุขของ สปป.ลาว ได้ทราบถึง พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม
เอกพลากร ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน สถานการณ์ที่แท้จริงของโรค NCDs ซึ่ง พระบรมราชชนก หรือ “พระบิดา” ของ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เราจะเป็นฝ่ายดูแลในเรื่องของเนื้อหาข้อมูล ชาวมหาวิทยาลัยมหิดล” ศาสตราจารย์
มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะหัวหน้าโค เทคนิคและวิธีการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ ดร.นายแพทย์วิชัย เอกพลากร กล่าว
รงการฯ กล่าวว่า ในขณะนี้ทุกประเทศ ตัวอย่างชีวภาพทางห้องปฏิบัติการ และการ ทิ้งท้าย
ทั่วโลกมีแนวโน้มของปัญหาโรคไม่ติดต่อ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และรายงานโดย
เรื้อรัง หรือ NCDs (non-communica- ผู้เชี่ยวชาญ ผ่านการประสานงานจากฝ่าย *ขอขอบคุณภาพจาก ศูนย์ข่าว กต.
ble diseases) ซึ่งเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับ วิเทศสัมพันธ์ ของคณะฯ นอกจากนี้ยังมีเจ้า
พฤติกรรมมากขึ้นเรื่อยๆ ตามกระแสโลกา หน้าที่อีกหลายฝ่ายที่อยู่เบื้องหลังท�าให้เกิด
ภิวัตน์ ซึ่งจ�าเป็นต้องมีการเฝ้าระวังโดยการ งานนี้ขึ้นมา
ส�ารวจด้วยการเก็บข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน “คาดว่ าใน
สากล มหาวิทยาลัยมหิดล โดยคณะ ปลายปี นี้ จะ
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้ ข้ อมู ลที่ มี
จึงได้ใช้ประสบการณ์ในส�ารวจสุขภาพ ประโยชน์จากวิธี
ประชาชนไทย เพื่อให้ความช่วยเหลือ การเก็บข้อมูลที่
สปป.ลาว ซึ่งเป็ นประเทศเพื่อนบ้าน ได้มาตรฐานเพื่อ
ผ่าน กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ การน�าไปก�าหนด
กระทรวงการต่างประเทศ (Thailand นโยบายทาง
International Cooperation Agency : ด้านสาธารณสุข
TICA) เพื่อส่งเสริมการให้บริการด้าน ส�าหรับสปป.ลาว
สาธารณสุขแก่ประชาชนลาวอย่าง ครั้งแรก หลังจาก
ทั่วถึง และเพื่อให้ สปป.ลาว สามารถ นั้นเราจะมีการ
บรรลุเป้าหมายที่ ๓ คือ การมีสุขภาพ ส�ารวจ และติดตาม
และความเป็นอยู่ที่ดีของเป้าหมายการ สถานการณ์ ต่อ
พัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ (Sus- ไปเป็ นระยะๆ
tainable Development Goals - SDGs) อย่ างน้ อยทุ ก
ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์วิชัย ๔ – ๕ ปี โดยเรา
เอกพลากร กล่าวต่อไปว่า ระบบการ จะคอยถ่ายทอด
เฝ้าระวังเป็นเรื่องที่ส�าคัญมากส�าหรับ ประสบการณ์
การควบคุมโรค NCDs ซึ่งท�าให้เราได้ เทคนิคการส�ารวจ
ทราบถึงขนาดปัญหาในเบื้องต้น เพื่อจะมี ตลอดจนเนื้อหา
การติดตามต่อไปเป็นระยะๆ ให้ได้ทราบ และการพัฒนา
20 April 2020 M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership