Page 12 - MU_4apr63
P. 12

รวมข่าวและบทความ Covid-19
             ผศ.ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์
             ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล

               Covid-19 ไม่น่ากลัวส�าหรับเด็ก... จริงหรือ??

                  การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ จาก Covid-19 ในเด็กจะค่อนข้างต�่ามาก
               ใหม่หรือ Covid-19 เป็นสิ่งที่ส่งผลลบต่อทั้ง คือราวๆ ร้อยละ ๐.๑ – ๐.๒ เมื่อเปรียบ
               สุขภาพกาย สุขภาพจิต และเงินในกระเป๋ า เทียบกับอัตราตายเฉลี่ยทุกช่วงอายุที่อยู่
               สตางค์ของคนไทยเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ ประมาณร้อยละ ๓ – ๔ แต่ก็มีรายงานอาการ
               กับผู้สูงวัย ซึ่งถือเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อเชื้อไวรัส ป่วยรุนแรงในเด็กอยู่เหมือนกัน ซึ่งในบาง
               ชนิดนี้ที่จะมีอาการรุนแรง และมีอัตราการ รายไม่พบปัจจัยเสี่ยงชัดเจน แสดงว่าอาจจะมี
               เสียชีวิตสูง                   ปัจจัยอื่นๆ ของตัวโรคที่เรายังไม่เข้าใจอยู่อีก ยังผู้สูงวัยในบ้านด้วย ซึ่งโดยหลักการแล้ว
                  ในทางกันตรงข้าม ข้อมูลในหลายสื่อมัก  นอกจากนี้ แม้อาการของ Covid-19 ใน การป้องกันการติดเชื้อก็จะเหมือนกับใน
               จะบอกตรงกันว่า การติดเชื้อไวรัส Covid-19                เด็กมักจะไม่รุนแรง แต่ก็สามารถแพร่เชื้อ ผู้ใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นการล้างมือด้วยสบู่บ่อยๆ
               ในเด็กมักจะมีอาการไม่รุนแรง ซึ่งก็ไม่ผิด ไปยังบุคคลอื่นได้ รวมถึงด้วยความที่เป็น การท�าความสะอาดด้วย ๗๐% แอลกอฮอล์
               ในภาพรวม แต่เบื้องหลังอาการที่ไม่รุนแรง                   เด็ก ท�าให้มักจะไม่ระวังการแพร่เชื้อได้ดี การใส่หน้ากากอนามัย การอยู่บ้าน ไม่ออก
               ในเด็ก มันมีหลายสิ่งที่น่ากลัวซ่อนอยู่  เท่าที่ควร เช่น การไอโดยไม่ปิดปาก การใส่ ไปข้างนอกโดยไม่จ�าเป็น การใช้ช้อนส้อมของ
                  โดยส่วนใหญ่ อาการของการติดเชื้อ  แมสก์ที่ไม่ถูกต้อง การลืมท�า social distanc- ตนเอง ไม่กินอาหารร่วมกับคนอื่นๆ และการ
               Covid-19 ในเด็กจะเป็นอาการไข้สูง ร่วมกับ ing เป็นต้น จึงต้องระวังว่าเด็ก ๆ อาจจะเป็นผู้ รักษาระยะห่าง (เท่าที่พอจะท�าได้ส�าหรับเด็ก)
               อาการไอแห้งๆ อ่อนเพลีย ซึ่งการติดเชื้อไวรัส แพร่เชื้อให้กับคนอื่น ๆ ในบ้านโดยไม่ได้ตั้งใจ โดยคุณพ่อคุณแม่ต้องท�าให้ลูกๆ เห็นเป็น
               ชนิดนี้จะท�าให้เกิดโรคได้ตั้งแต่เป็นหวัด   สิ่งที่ต้องใส่ใจเป็นพิเศษ คือ เด็กๆ                 ตัวอย่างด้วย จึงจะท�าให้เด็กๆ ยอมท�า
               หลอดลมอักเสบ แต่ในบางกรณีอาจมี มักจะมีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อ Covid-19  ตามที่สอนได้
               ภาวะปอดอักเสบหรือปอดบวมร่วมด้วยได้                      เข้าสู่ร่างกายมากกว่าผู้ใหญ่ เพราะนอกจาก  อีกประการที่ส�าคัญ คือ การดูแลสภาวะ
               ซึ่งภาวะปอดบวมคือสิ่งที่ท�าให้โรคนี้ การติดต่อผ่านระบบทางเดินหายใจ เช่น การไอ อารมณ์และจิตใจเด็กๆ ที่ยังไม่ป่วยใน
               รุนแรง และอาจจะถึงแก่ชีวิตได้  หรือการจามแล้ว เจ้าเชื้อ Covid-19 ยังเข้า                                    สถานการณ์ขณะนี้ เพราะแม้เด็กเล็กๆ
                  อย่างไรก็ดี แม้อาการในเด็กส่วนใหญ่จะ สู่ร่างกายผ่านทางเยื่อบุได้ ดังนั้น การขยี้ตา                                                                        จะยังไม่เข้าใจว่ามีอะไรเกิดขึ้น แต่ความ
               ไม่รุนแรง แต่ก็มีปัจจัยหลายประการที่อาจ การเอามือหรือของเล่นเข้าปาก ซึ่งเป็นพฤติกรรม กังวลและความเครียดของคุณพ่อคุณแม่
               จะท�าให้อาการของการติดเชื้อ Covid-19 ใน ที่เด็กๆ ชอบท�า ล้วนเป็นการเปิดเส้นทางให้ เป็นสิ่งที่เค้าสามารถรับรู้ได้ คุณพ่อคุณแม่
               เด็กรุนแรงได้ โดยเฉพาะเด็กที่มีโรคประจ�าตัว  เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ทั้งสิ้น ซึ่งถ้าเด็กติด จึงควรระมัดระวังการแสดงออกถึงความเครียด
               เช่น โรคปอดเรื้อรัง โรคหอบหืด โรคอ้วน ภาวะ เชื้อเจ้าไวรัสนี้แล้วก็จะสามารถแพร่เชื้อให้กับ    ความกังวล ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเจ็บป่วย
               ภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือเด็กที่ต้องกินยากด คนอื่น ๆ ต่อไปได้   ของตัวเค้าหรือคนอื่นๆ ในครอบครัว เรื่อง
               ภูมิคุ้มกันเพื่อรักษาโรคบางชนิด ปัจจัยเหล่านี้  ดังนั้น การป้องกันการติดเชื้อจึงเป็น งาน เรื่องเงิน รวมไปถึงความหงุดหงิดของตัว
               จะท�าให้การติดเชื้อ Covid-19 ในเด็ก อาจจะ เรื่องส�าคัญในการดูแลโรคนี้ในเด็ก และ ผู้ปกครองแสดงออกมา ซึ่งอาจจะไปกระทบ
               เกิดอาการรุนแรงได้ และแม้อัตราการตาย เป็นการป้องกันไม่ให้เด็กแพร่เชื้อต่อไป กระเทือนจิตใจเจ้าตัวน้อยได้


                ม.มหิดล สร้างสรรค์แอปพลิเคชัน “เสียงยิ้ม” และ “ความจ�า&ความสุข” สู้วิกฤต Covid-19
                                                                                                 ฐิติรัตน์ เดชพรหม
                  นับตั้งแต่เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๓  จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเปรียบเหมือนบท ท�าสมาธิ และจัดการกับอารมณ์ของตัวเอง
               ที่พบผู้ติดเชื้อ Covid-19 รายแรกในไทย                                                                                        ทดสอบว่าเรามีพร้อมเพียงใดที่จะเผชิญโลก ซึ่งความกลัว ความเศร้า ความเหงา และ
               จนปัจจุบันมีจ�านวนเพิ่มขึ้นถึงหลักพัน ท่ามกลาง ต่อไปข้างหน้า โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ความโกรธ มีได้กับทุกคน แต่เมื่อเกิดขึ้น
               ความตื่นความตระหนก “สติ” เท่านั้นคือ                    ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง กล่าวว่า ผู้ที่คิด แล้วเราจะต้องฝึกจิตใจให้มั่นคงมากพอที่
               สิ่งเดียวที่จะท�าให้เราผ่านพ้นวิกฤตนี้ไปได้  ยืดหยุ่นจะช่วยให้ตัวเองและคนรอบข้าง จะจัดการกับอารมณ์เหล่านี้ ด้วยการ
                  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภลักษณ์                    สามารถผ่านเรื่องร้ายๆ ไปได้ ที่ส�าคัญคือ หากิจกรรมดีๆ ที่สามารถท�าได้ในบ้าน
               เข็มทอง นักกิจกรรมบ�าบัด คณะกายภาพ                   ต้องฝึกพูดบวก ไม่ว่าจะเป็นงานศิลปะ หัตถกรรม ดนตรี
               บ�าบัด มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า พระบาท          กับตัวเองบ่อยๆ  ท�าอาหาร ท�างานบ้าน อ่านหนังสือ ดูภาพยนตร์
               สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล                 เช่น ขอบคุณโค และเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ โดยไม่ขาดการสื่อสารที่
               อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสอน                วิดที่ท�าให้เรา แสดงถึงความเอื้ออาทรต่อครอบครัว และ
               ให้พวกเรา “ยิ้มสู้” ไม่ว่าจะเจออุปสรรคอะไร       ได้กลับมาดูแล คนรอบข้างอยู่เสมอ” ผู้ช่วยศาสตราจารย์
               ธรรมชาติของโรคระบาด จะมีทั้งขาขึ้น และ           ตัวเอง  และไม่ ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง กล่าว
               ขาลง ตอนเราลง ถ้าเรามี “สติ” รู้เท่าทันว่าจะ     ประมาท ตลอด    นอกจากนี้ หากสมองได้รับการบ�ารุงที่ดี
               ต้องป้องกันตัวเองอย่างไรด้วยความ “สงบ”           จนได้เรียนรู้จาก  จะช่วยให้เราสามารถแก้ไขปัญหาชีวิต
               ซึ่งสงบในที่นี้คือ “การคิดบวก” และการมี  Self Isolation หรือ การมีระยะห่างที่แสดงถึง ได้ดีด้วย ซึ่ง ศาสตราจารย์เกียรติคุณ
               “อารมณ์ที่มั่นคง” รวมทั้งมีการสื่อสารที่ดี  ความรับผิดชอบทางสังคม ซึ่งผู้ที่คิดยืดหยุ่น นายแพทย์ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์ อดีต
               จากการ “คิดดี พูดดี ท�าดี” จะท�าให้เรามีภูมิ จะสามารถวางแผนได้เลยว่า ในช่วงกักกันโรค  ผู้อ�านวยการสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัย
               ต้านทานโดยธรรมชาติ             ๑๔ วันจะอยู่อย่างมีสติได้อย่างไร  มหิดล และอดีตผู้อ�านวยการฝ่ายอาหารและ
                  “ความยืดหยุ่น” และ “การปรับตัว” เป็น  “ระยะห่างระหว่างกันในช่วงนี้ที่ปลอดภัย โภชนาการ องค์การอาหารและเกษตรแห่ง
               ทักษะชีวิตที่ส�าคัญประการแรกๆ ในโลกยุค คือ ๖ ฟุต ซึ่งก็คือ ระยะมากกว่าหนึ่งช่วงแขน สหประชาชาติ ได้ให้ค�าแนะน�าในภาวะการ
               ศตวรรษที่ ๒๑ ที่มีการเปลี่ยนแปลงในทุกวัน  ของเรา เพื่อจะได้มีพื้นที่เคลื่อนไหวร่างกาย  แพร่ระบาดของ Covid-19 ว่า ให้กินอาหาร

   12     April 2020                                              M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17