Page 11 - MU_4apr63
P. 11

รวมข่าวและบทความ Covid-19





               ต่อโรค ท�าให้อัตราการติดเชื้อจะชะลอตัว  โดยสรุป จากการศึกษาผลกระทบ น่าจะส่งผลให้สถานการณ์การแพร่ระบาด
               และค่อยๆ ลดลง                  ของการจัดเทศกาลสงกรานต์ต่อ จะเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น
                  ขณะที่การเก็บข้อมูลการเคลื่อนที่กรณี สถานการณ์การระบาด Covid -19
               ของผู้ที่ได้รับการยืนยันการติดเชื้อว่ามีการ หากไม่เลื่อนการจัดเทศกาลสงกรานต์  สัมภาษณ์และเรียบเรียงโดย : นางสาว
               เดินทางไปที่ไหนและพบกับใครบ้างก่อน อาจส่งผลให้คนติด Covid -19 เพิ่มขึ้น ปัณณพร แซ่แพ นักประชาสัมพันธ์
               ที่จะตรวจพบเชื้อ แล้วน�ามาเผยแพร่เป็น กว่า ๑.๓ ถึง ๑๐๐ เท่า มาตรการยกเลิก งานสื่อสารองค์กร คณะวิทยาศาสตร์
               ประกาศ หรือ น�าไปประมวลผลและเผย การจัดเทศกาลสงกรานต์ โดยเลื่อน มหาวิทยาลัยมหิดล
               แพร่ผ่าน Application ที่ถูกน�าเสนอผ่าน วันหยุดนักขัตฤกษ์ไปชดเชยภายหลัง                                                                     ตรวจสอบโดย : รองศาสตราจารย์
               สื่อต่างๆ ก็เป็นประโยชน์กับคนทั่วไปใน จะช่วยลดอัตราการติดเชื้อลงได้  ดร.ชรินทร์ โหมดชัง อาจารย์ประจ�าภาค
               การหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังพื้นที่เสี่ยง  ประกอบกับมีการรณรงค์ให้คนอยู่บ้าน  วิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
               ช่วยลดโอกาสในการติดเชื้อ รวมถึงเป็น หยุดเชื้อ เพื่อชาติ เว้นระยะห่างทางสังคม  มหิดล
               ประโยชน์กับเจ้าหน้าที่ในการติดตามและ (Social Distancing) สวมใส่หน้ากาก
               ควบคุมโรคอีกด้วย               อนามัย และล้างมืออย่างต่อเนื่อง                                                                       ภาพประกอบ : Freepik



                                 ม.มหิดล วอนอย่าทอดทิ้งสัตว์เลี้ยงแม้ในยามวิกฤต
                                                                                                 ฐิติรัตน์ เดชพรหม
                  จากผลการส�ารวจเมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๐                             พยาบาล และการจัดอาหารให้เหมาะสม
               ประเทศไทยมีสุนัขจรจัดประมาณ                                   ต่อโรค ซึ่งที่ผ่านมาได้มีผู้บริจาคอาหาร
               ๓๕๐,๐๐๐ ตัว ๑๐ ปีต่อมาพบว่ามีจ�านวน                           สัตว์จนเพียงพอแล้ว แต่ยังขาดในส่วน
               เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ โดยในปี พ.ศ.๒๕๖๐                          ของอาหารที่ต้องใช้ดูแลเฉพาะโรค
               พบสุนัขจรจัดถึงประมาณ ๘๒๐,๐๐๐ ตัว                             รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
               จนกรมปศุสัตว์ ได้ออกมาคาดการณ์ กล่าวว่า ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานเชิง  ที่เพิ่มขึ้นตามอายุของสัตว์
               ว่า ในปีพ.ศ.๒๕๗๐ ประเทศไทยจะมี ประจักษ์ที่บ่งชี้ว่าสุนัขและแมวเป็น
               สุนัขและแมวจรจัดถึงประมาณ ๑.๙๒              แหล่งแพร่เชื้อไวรัส Covid-19  ดังนั้น
               ล้านตัว และจะมากถึง ๕ ล้านตัวในอีก จึงไม่ควรทอดทิ้งสัตว์เลี้ยง และหาก
               ประมาณ ๒๐ ปีข้างหน้า           ไม่มีความจ�าเป็นจริงๆ ก็ไม่แนะน�าให้
                  โดยได้มีการออกพระราชบัญญัติ น�าสัตว์เลี้ยงไปฝากตามสถานรับฝาก
               ป้องกันการทารุณกรรมและการจัด สัตว์เลี้ยง เพราะอาจสร้างความเครียด
               สวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ.๒๕๕๘ มาตรา  ให้กับสัตว์ และหากมีสัตว์เลี้ยงอยู่กัน  “ในช่วง Covid-19 ระบาด อยากให้
               ๒๓ ห้ามมิให้เจ้าของสัตว์ปล่อย ละทิ้ง อย่างหนาแน่น อาจจะท�าให้เสี่ยงต่อการ  รักษาสุขอนามัยกันให้ดีทั้งเจ้าของและ
               หรือกระท�าการใดๆ  ให้สัตว์พ้นจาก เกิดโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และ  สัตว์เลี้ยง เพื่อตัวท่านเองและสัตว์เลี้ยง
               การดูแลของตนโดยไม่มีเหตุอันสมควร                           นอกจากนี้ ควรล้างมือก่อน และหลัง  ที่ท่านรัก ที่ส�าคัญไม่ควรทอดทิ้งสัตว์
               บทลงโทษปรับไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ บาท  การสัมผัสตัวสัตว์ และท�าความสะอาด  เลี้ยงไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น โดย คณะ
                  ซึ่งสาเหตุที่ท�าให้มีสุนัขและแมวจรจัด อุปกรณ์และพื้นที่เลี้ยงสัตว์ด้วยน�้ายา                   สัตวแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัย
               เกิดขึ้นเป็นจ�านวนมากนั้น ส่วนหนึ่งเกิด ฆ่าเชื้อโรคที่เหมาะสมอย่างสม�่าเสมอ  มหิดล เราเองก็ไม่ทอดทิ้งสุนัขที่อยู่
               จากการถูกทอดทิ้งโดยผู้เป็นเจ้าของ ยิ่งใน                      ในขณะที่บุคลากรส่วนใหญ่ได้ Work   ในความดูแลของโครงการ “บ้านรัก
               ช่วงที่เกิดวิกฤตไวรัส Covid-19 แพร่ระบาด  From Home ตามมาตรการเฝ้าระวัง  หมาศาลายา” เช่นกัน แม้ว่าในช่วง
               หลายคนเกิดความวิตกกังวล  โดย                                                                           การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ยังมี  Covid-19 ระบาด “บ้านรักหมาศาลายา”
               ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สัตวแพทย์ เจ้าหน้าที่ส่วนหนึ่งที่จะต้องมาปฏิบัติ  จะปิดเยี่ยมชม  และงดกิจกรรม
               หญิงวลาสินี ศักดิ์ค�าดวง คณบดีคณะ หน้าที่ตามปกติที่ “บ้านรักหมาศาลายา”                                       จิตอาสา แต่ก็ยังเปิดรับบริจาคส�าหรับ
               สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ซึ่งเป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสวัสดิภาพ  ผู้ที่มีจิตเมตตาต่อสัตว์ โดยสามารถ
                                              สุนัขจรจัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา                                                                     ติดต่อได้ที่ ๐๙๙-๓๓๐๒๔๒๔ หรือ FB:
                                              ภายใต้การดูแลของคณะสัตวแพทยศาสตร์   บ้านรักหมาศาลายา มหาวิทยาลัย
                                              มหาวิทยาลัยมหิดล  โดย  ผู้ ช่ วย  มหิดล - Salaya Dog Shelter Mahidol
                                              ศาสตราจารย์ ดร.สัตวแพทย์หญิง                  University (https://www.facebook.com/
                                              วลาสินี ศักดิ์ค�าดวง คณบดีฯ กล่าว  salayadogshelter) เราจะผ่านวิกฤตนี้ไป
                                              ว่า ปัจจุบันพบว่าสุนัขที่อยู่ในโครงการ                   ด้วยกัน  คนและสัตว์ไม่ทอดทิ้งกัน”
                                              “บ้านรักหมาศาลายา” ส่วนหนึ่งมีอายุ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สัตวแพทย์หญิง
                                              มากขึ้น และป่วยด้วยโรคที่มากับความ  วลาสินี  ศักดิ์ค�าดวง คณบดีคณะ
                                              ชรา ได้แก่ โรคไต โรคเบาหวาน และโรค  สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
                                              หัวใจ จ�าเป็นต้องได้รับการดูแลรักษา  กล่าวเชิญชวนทิ้งท้าย
                                                                                     * ขอบคุณภาพประกอบจาก VS
                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๓      11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16