Page 8 - MU_4apr63
P. 8

รวมข่าวและบทความ Covid-19
             ฐิติรัตน์ เดชพรหม



                         ม.มหิดล ผลักดันสิทธิคนพิการท�าประกันโควิด


                  “ความพิการไม่ใช่โรค” นอกจากความ
               บกพร่องทางร่างกายบางส่วนแล้ว คนพิการ
               ไม่มีอะไรแตกต่างไปจากคนทั่วไป เรามี
               สิทธิในการด�ารงชีวิตเฉกเช่นเดียวกัน
                  ในขณะที่ทั่วโลกก�าลังถูกคุกคามด้วยภัย
               จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19
               คนพิการก็เป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่ได้รับ
               ผลกระทบเช่นกัน อาจารย์ แพทย์หญิง                                                                     เสียงอ่านได้ เช่น word file จึงท�าให้คน ที่บ้าน หรือ Work From Home ก่อน
               วัชรา ริ้วไพบูลย์ คณบดีวิทยาลัยราชสุดา  พิการลักษณะนี้อาจต้องมีอุปกรณ์ช่วย เป็นกลุ่มแรกๆ ซึ่งในส่วนของวิทยาลัย
               มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า คนพิการมี ในการเข้าถึงข้อมูลเพิ่มขึ้น ในขณะที่คน ราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จ�ากัดให้
               อุปสรรคอย่างมากในการเข้าถึงข้อมูล พิการทางการได้ยิน จ�าเป็นต้องมีล่าม มีจ�านวนผู้มาท�างานไม่ถึงร้อยละ ๒๐ โดย
               ข่าวสารการระบาดที่เปลี่ยนแปลง ภาษามือช่วยแปล หรือภาพที่มีค�าบรรยาย ส่วนใหญ่เป็นฝ่ายบริหารกลางที่ต้องคอย
               อย่างรวดเร็วตลอดเวลา รวมทั้งข้อมูล ประกอบ ทั้งนี้ข้อมูลความรู้ใหม่ๆ ที่ซับซ้อน                            มาประสานงาน และจัดการความเสี่ยง
               ความรู้ และมาตรการในการป้องกันตัวเอง                                                                     อาจจ�าเป็นต้องผลิตสื่อที่เข้าใจได้ง่าย เช่น   “ล่าสุดเราได้เจรจากับบริษัทประกัน
               หรือช่วยป้องกันการแพร่ระบาดในสังคม   คลิปวิดีโอที่น�าเสนอข้อมูลเป็นเรื่องราว                                                                                      เพื่อให้เข้าใจว่าขณะนี้ทุกคนไม่ว่า
                  นอกจากนั้น มาตรการต่างๆ ยังส่งผล โดยคนหูหนวกที่ใช้ภาษามือเอง                                                 พิการ หรือไม่พิการ เรามีความเสี่ยง
               ต่อการเปลี่ยนแปลง และท�าให้มีปัญหา สื่อแอนิเมชันที่มีล่ามภาษามือ หรือ                                                        ที่หลากหลายร่วมกัน (pooling risk) จึง
               อุปสรรคในการด�ารงชีวิตต่อผู้คนในสังคม ค�าบรรยาย  (captioning) เป็นต้น  ไม่ควรมีการคัดแยกผู้พิการออกจาก
               ได้ โดยเฉพาะคนพิการที่มีความจ�ากัดของ  ส่วนกลุ่มคนพิการทางสติปัญญา  กลุ่มการท�าประกันโควิด โดยเฉพาะ
               ความสามารถในการด�ารงชีวิตที่แตกต่าง จิตสังคม ออทิสติก หรือการเรียนรู้                  คนพิการที่อยู่ในมหาวิทยาลัยมหิดลมี
               จากคนทั่วไป                    ก็พบข้อจ�ากัดในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร                    คุณภาพชีวิตที่ดีสามารถช่วยเหลือตัวเอง
                  โดยในกลุ่มคนพิการทางร่างกาย ซึ่งต้องการสื่อที่เข้าใจง่าย และชัดเจน                                                        ได้ดี มีศักยภาพในการเรียน และท�างาน
               และการเคลื่อนไหว อาจมีความยาก เช่นกัน โดยในบางรายอาจจ�าเป็นต้องมี                เหมือนคนทั่วไป ยิ่งมีความเสี่ยงน้อยมาก
               ล�าบากในการปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน  ผู้ดูแลก็ต้องท�าให้เขาเข้าถึงข้อมูลด้วย  ในเรื่องการติดเชื้อ และอุบัติเหตุ
               เช่น การล้างมือและการใส่หน้ากากด้วย  ในขณะที่ทั่วโลกต้องเผชิญกับภัยจาก  และนี่คือความร่วมมือของวิทยาลัย
               ตนเอง เนื่องจากในบางรายอาจขยับแขน/ การแพร่ระบาดที่นับวันจะทวีความรุนแรง ราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล หน่วย
               มือไม่ได้ รวมทั้งยากล�าบากที่จะป้องกัน มากยิ่งขึ้น “ประกันโควิด” จึงเป็นทางเลือก บริการสนับสนุนส�าหรับนักศึกษาพิการ
               อุปกรณ์ช่วยความพิการไม่ให้แปดเปื้อน หนึ่งที่สร้างความมั่นคงให้กับชีวิตของ กองกิจการนักศึกษามหาวิทยาลัย
               เชื้อโรค หรือในรายที่ต้องนั่งรถเข็น ก็อาจไม่ ผู้คนในช่วงวิกฤต แต่ก็ยังพบข้อจ�ากัด มหิดล (Disability Support Service
               สามารถเอื้อมถึงเจลล้างมือ หรืออุปกรณ์ ในสิทธิของผู้ท�าประกันที่กรมธรรม์ Mahidol University: DSS Mahidol)  และ
               ป้องกันที่วางไว้ในที่สูงเกินไป และเมื่อ ส่วนใหญ่ไม่ครอบคลุมถึงคนพิการ  กองทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัย
               จ�าเป็นต้องมีผู้ช่วยเหลือก็จะมีความเสี่ยง โดยมหาวิทยาลัยมหิดลได้ผลักดันจน มหิดล  ที่มีความเข้าใจและจะไม่ทิ้ง
               เพิ่มขึ้นก็ท�าให้ยากล�าบากต่อการท�าตาม นักศึกษาและบุคลากรทุกคนรวมถึง คนพิการไว้ข้างหลัง”
               มาตรการรักษาระยะห่างเพื่อการป้องกัน คนที่มีความพิการ สามารถเข้าถึงสิทธิ  “ในภาวะที่ยากล�าบากเช่นนี้ เราควรได้
               การติดเชื้อ (Social Distancing)  ดังกล่าวได้อย่างเท่าเทียมกัน  ตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
                  ในส่วนของกลุ่มคนพิการทางการ    รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐนียา  ที่อยู่ในสังคมเดียวกันโดยไม่เลือกปฏิบัติ
               เห็น ก็มีข้อจ�ากัดในเรื่องมาตรการรักษา โตรักษา หรือ “อาจารย์แอน” ผู้ช่วย ไม่ตีตรา แบ่งแยก หรือคัดใครออกเลย
               ระยะห่างเพื่อป้องกันการติดเชื้อ เนื่องจาก คณบดีฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในแกนน�าในการ ดังนั้นในการออกมาตรการใดๆ เราต้อง
               ต้องใช้มือสัมผัสช่วยการรับรู้สิ่งแวดล้อม ผลักดันให้เกิดสิทธิท�าประกันโควิดส�าหรับ ไม่ลืมที่จะคิดถึงเงื่อนไขที่แตกต่างของ
               รอบตัว และที่ส�าคัญคือ มีข้อจ�ากัดใน คนพิการของมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าว คนพิการด้วย และออกแบบมาตรการ
               การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่างมาก เช่นเดียว เสริมว่า มหาวิทยาลัยมหิดลมีคนพิการที่ ให้ครอบคลุม เพื่อเขาจะได้รับบริการที่
               กับกลุ่มคนพิการทางการได้ยิน แต่แตก เป็นทั้งนักศึกษาและบุคลากรรวมจ�านวน  จ�าเป็นอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับคนทั่วไป”
               ต่างกันในอุปสรรคที่ท�าให้เข้าไม่ถึงข้อมูล  ๗๒ คน โดยในช่วงการแพร่ระบาด                                 คณบดีวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัย
               โดยคนพิการทางการเห็น จ�าเป็นต้องได้ ผู้พิการในมหาวิทยาลัยมหิดลมีความ มหิดล กล่าวทิ้งท้าย
               รับข้อมูล โดยเฉพาะจากสื่อสาธารณะที่ เสี่ยงน้อยมาก เนื่องจากมีการจัดให้
               มีการบรรยายด้วยเสียง หรือข้อความที่ นักศึกษาเรียนผ่านระบบทางไกล และ       * ขอขอบคุณภาพจาก RS
               อยู่ในรูปแบบที่มีโปรแกรมช่วยแปลงเป็น ให้บุคลากรได้เฝ้าระวังโดยการท�างาน

    8     April 2020                                              M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13