Page 21 - MU_1Jan62
P. 21
Special Article
อ.ดร.กรญาณ์ เตชะวงค์เสถียร
อาจารย์ประจ�าหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
นักแปล = ล่าม? ล่าม = นักแปล?
อ้างอิงรูปภาพ: https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Globe_translate.jpg
การแปล คือ การถ่ายทอดข้อความและความหมายของ ในทางตรงกันข้าม นักแปลและล่ามจะมีความแตกต่างกัน
ข้อความนั้นๆ จากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่ง ดังนั้น ข้อความ อย่างชัดเจน ประการแรก คือ ลักษณะของตัวบทที่แตกต่างกัน
ที่ได้รับการถ่ายทอดควรมีเนื้อความเดียวกันกับข้อความ กล่าวคือ นักแปลท�างานกับตัวหนังสือ และล่ามท�างานกับตัวบท
จากภาษาต้นทาง ที่เป็นเสียง ซึ่งน�าไปสู่ความแตกต่างประการที่สอง คือความกดดัน
ค�าจ�ากัดความอย่างคร่าวๆ ข้างต้นอาจท�าให้คนส่วนใหญ่ ระหว่างการถ่ายทอดข้อความ กล่าวคือ ระหว่างที่ถ่ายทอด
ข้อความที่เป็น ล่ามมีเวลาน้อยกว่านักแปลในการถ่ายทอด
เข้าใจว่า “การแปล” หมายรวมถึง การถ่ายทอดจากข้อความ ข้อความออกไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง และหากข้อความนั้นได้ผ่านไป
จากภาษาหนึ่งไปยังข้อเขียนของอีกภาษาหนึ่ง ทั้งในรูปแบบงานเขียน แล้ว (ไม่ว่าจะได้ถ่ายทอดเป็นอีกภาษาไปแล้วหรือไม่ก็ตาม)
และถ้อยค�าที่เป็นเสียง อันที่จริง การถ่ายทอดข้อความที่มิใช่ ก็ (อาจ) ไม่สามารถกลับไปแก้ไขได้อีก แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า
ข้อเขียน แต่เป็นค�าพูด หรือบทสนทนาจากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษา นักแปลมีแรงกดดันระหว่างการท�างานน้อยไปกว่าล่าม เนื่องจาก
หนึ่งนี้ จะมีค�าจ�ากัดความที่จ�าเพาะและชัดเจนกว่าว่า “การล่าม” ข้อความที่เป็นตัวอักษรที่นักแปลถ่ายทอดไว้ อาจมีอายุยืนยาว
ด้วยเหตุนี้ ผู้ที่มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนว่า “การแปล” หมาย กว่าเสียงที่ล่ามได้ถ่ายทอดออกมาซึ่งอาจผ่านมาแล้วผ่านเลยไป
รวมถึง “การล่าม” ด้วยนั้น จึงอาจพลอยเข้าใจผิดได้ว่าผู้ที่ท�างาน ประการที่สาม คือเรื่องความจ�าและการมีสติ กล่าวคือ ล่าม
(โดยเฉพาะล่ามที่ต้องแปลทันที) ต้องอาศัยความจ�าที่ดีมาก รวมถึง
แปลหรือนักแปลสามารถถ่ายทอดข้อความเสียงจากบทสนทนา ต้องมีสติในการถ่ายทอดข้อความตลอดเวลา มิเช่นนั้นอาจ
ในภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่งได้อย่างไร้ที่ติ แท้ที่จริงแล้วเป็น ถ่ายทอดข้อความเสียงต้นทางผิดพลาด หรือข้ามการถ่ายทอด
เช่นนั้นหรือไม่ นักแปลสามารถเป็นล่ามได้จริงๆ หรือไม่ หรือล่าม ข้อความเสียงในบางช่วงไปได้ ในด้านนักแปล เรื่องความจ�าและ
สามารถท�างานแปลได้ด้วยเช่นกันหรือไม่ สติก็ย่อมต้องมีเช่นกัน แต่นักแปลอาจมีเวลามากกว่าล่าม จึงอาจ
ในเบื้องต้น ขอกล่าวถึงความเหมือนกันระหว่างนักแปลและ ไม่จ�าเป็นต้องตกอยู่ในภาวะเช่นเดียวกันเสมอไป
ล่ามเสียก่อน ประการแรกคือ ความสามารถทางภาษา นักแปล จึงอาจสรุปไว้ในเบื้องต้นได้ว่า นักแปลและล่ามมีทั้งความ
และล่ามต้องมีความรู้และความเข้าใจภาษาอย่างน้อยสองภาษา เหมือนและความต่างในเชิงคุณสมบัติ ในแง่ความเหมือน คือเรื่อง
ที่ตนแปลอยู่ หากไม่มีความรู้ความสามารถทางภาษาแล้ว ก็ย่อม ความสามารถในการใช้ภาษา ส่วนในแง่ความต่าง เป็นเรื่อง
จะไม่สามารถถ่ายทอดความหมายผ่านภาษาได้ ประการที่สอง ทักษะที่จ�าเป็ นในการใช้ระหว่างถ่ายทอดภาษาจากภาษา
คือความละเอียดรอบคอบในการเลือกใช้ค�า แม้นักแปล(อาจ) หนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่ง ดังนั้น ต่อปุจฉาที่ว่านักแปลสามารถ
มีเวลาเลือกสรรค�าเพื่อใช้ถ่ายทอดข้อความจากภาษาต้นทางไปยัง เป็นล่ามได้ไหม และในทางกลับกัน ล่ามสามารถเป็นนักแปลได้
ภาษาปลายทาง มากกว่าล่ามที่ (อาจ) มีเวลาจ�ากัดกว่า แต่ล่าม หรือไม่ ก็ย่อมต้องขึ้นอยู่กับบุคคลผู้ถ่ายทอดข้อความและความ
ก็ไม่สามารถละเลยคุณสมบัติประการที่สองนี้ไปได้เช่นกัน ดังนั้น หมายภาษานั้นๆ ว่ามีคุณสมบัติและทักษะที่จ�าเป็นในแต่ละงาน
นักแปลและล่ามจึงจ�าเป็นต้องมีคุณสมบัติดังกล่าวเช่นเดียวกัน หรือไม่ Mahidol
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 21