Page 19 - MU_1Jan62
P. 19

กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม








                  มหิดลมหาวิทยาลัยสีเขียว อันดับ ๑



                       ของประเทศไทยประจ�าปี ๒๕๖๑







                  ผลการจัดล�าดับมหาวิทยาลัยสีเขียวโลกปี ๒๐๑๘
               หรือ UI GreenMetric World University Ranking
               2018  ได้ประกาศผลเป็นที่เรียบร้อยเมื่อวันที่
               ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๑ ที่ผ่านมา ในปีนี้มหาวิทยาลัย
               มหิดลยังสามารถรั้งต�าแหน่งอันดับที่ ๑ ของประเทศ
               เป็นปีที่ ๓ ติดต่อกัน ตามมาด้วยมีมหาวิทยาลัย
               เกษตรศาสตร์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
               จากจ�านวนมหาวิทยาลัยภายในประเทศที่เข้าร่วม
               ทั้งสิ้น ๓๑ มหาวิทยาลัย ส�าหรับอันดับอย่างเป็น
               ทางการเมื่อเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยในภูมิภาค
               เอเชียอยู่อันดับที่ ๒๒ จากจ�านวนมหาวิทยาลัยใน
               เอเชียที่เข้าร่วมทั้งสิ้น ๓๐๖ มหาวิทยาลัย และเมื่อ
               เทียบกับมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมทั้งหมดในปี ๒๐๑๘
               จ�านวน  ๗๑๙ มหาวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยมหิดล
               ของเราได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว
               อันดับที่ ๘๙ ของโลก

                    เมื่อเปรียบเทียบตามตัวชี้วัดทั้ง  ๖  ด้าน
               ได้แก่  ๑.สถานที่และระบบสาธารณูปโภค
               ๒.การจัดการพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพ
               ภูมิอากาศ  ๓.การบริหารจัดการกากของเสีย
               ๔.การบริหารจัดการน�้า ๕.การขนส่ง ๖.การศึกษา
               ในปี  ๒๐๑๘ นี้  มหาวิทยาลัยมหิดลมีคะแนน
               ในตัวชี้วัดดีขึ้นในทุกด้าน ยกเว้นในด้าน การบริหาร
               จัดการกากของเสีย   เนื่องจากการจัดอันดับมหาลัย  อย่างไรก็ดีการจัดอันดับมหาลัยสีเขียวโลกเป็นเพียง
               สีเขียวโลกนั้นได้มีการปรับและพัฒนาเกณฑ์           เครื่องมือหนึ่งที่ท�าให้เรารู้ว่าการด�าเนินงานของเรา
               การประกวดโดยค�านึงถึงความยั่งยืนมากขึ้น            ในด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนนั้นอยู่ในระดับใด
               จากแต่ก่อนที่มุ่งเน้นเพียงด้านสิ่งแวดล้อมท�าให้  แต่สิ่งที่ส�าคัญมากไปกว่านั้นคือ การพัฒนาปรับปรุง
               มหาวิทยาลัยมหิดลมีผลงานที่ดีขึ้นเนื่องจาก    การด�าเนินการของเราเองสู่การพัฒนาเพื่อความยั่งยืน
               สามารถรวมประเด็นในด้านสุขภาพซึ่งเป็นจุดแข็ง  ตามยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศน์
               ของเราเข้าไปในด้านการศึกษาท�าให้คะแนน              (ECO-University) ซึ่งเป็นการผลักดันมหาลัยให้มีความ
               ในด้านนี้เพิ่มขึ้นสูงกว่าทุกๆ ปี อีกทั้งเราได้จัดท�า  ยั่งยืนมากขึ้นในทุกมิติ ตาม ๑๗ เป้าหมายการพัฒนา
               รายงานความยั่งยืนมหาวิทยาลัย โดยอ้างอิง          เพื่อความยั่งยืน (Sustainable development goals)
               ตามมาตรฐานของ Global Report Index (GRI)       ขององค์กรสหประชาชาติ  Mahidol
               ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อก�าหนดของปีนี้









                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      19
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24