Page 21 - MU_8Aug62
P. 21
Special Scoop
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
นพ.อ�าพล จินดาวัฒนะ สมาชิกวุฒิสภา
แสดงปาฐกถา “ณัฐ ภมรประวัติ” ครั้งที่ ๒๙ “จากสาธารณสุขมูลฐานสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
PHC towards SDGs”
เนื่องในงานวันคล้ายวันสถาปนาพัฒนาสุขภาพอาเซียน ม.มหิดล ครบรอบปีที่ ๓๖
ฐิติรัตน์ เดชพรหม
เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ สถาบัน และจิตวิญญาณ มีการออก พรบ.สุขภาพแห่ง จัดส่งน�้ายาล้างไตให้ผู้ป่วยโรคไตที่อาศัยอยู่ใน
พัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล ชาติ เพื่อเป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ ขยาย พื้นที่ห่างไกล เป็นต้น เพื่อน�าไปสู่การพัฒนาที่
จัดงานวันคล้ายวันสถาปนา สถาบันฯ ความระบบสุขภาพออกไปกว้างขวางกว่าระบบ ยั่งยืน เมื่อปี ๒๕๕๘ ที่สหประชาชาติได้ผลักดัน
ครบรอบปีที่ ๓๖ โดยได้รับเกียรติจาก นาย สาธารณสุขเดิม โดยให้ความส�าคัญต่อระบบ แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ “Sustainable
แพทย์อ�าพล จินดาวัฒนะ สมาชิกวุฒิสภา ความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ Development Goal : SDG” เพื่อให้ทุกประเทศ
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสุขภาพและสังคม นักการ สู่การร่วมมือกันเพื่อสร้างสังคมสุขภาวะ ๔ มิติ ทั่วโลกใช้เป็นกรอบ และทิศทางการพัฒนาร่วมกัน
สาธารณสุขดีเด่น ประเภทบริหาร รางวัลชัย (กาย-ใจ-จิตวิญญาณ/ปัญญา-สังคม) มีการ เพื่อผลักดันให้เกิดการพัฒนาทุกมิติอย่างสมดุล
นาทนเรนทร พ.ศ.๒๕๕๙ แสดงปาฐกถา ยกระดับสถานีอนามัยทั่วประเทศพัฒนาเป็น และเป็นองค์รวม ซึ่งการสาธารณสุขมูลฐาน
“ณัฐ ภมรประวัติ” ครั้งที่ ๒๙ ในหัวข้อ “โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล” หรือ ตั้ง “หลักคิด และ หลักท�า” ไว้ดี และมี
“จากสาธารณสุขมูลฐานสู่การพัฒนาที่ “รพ.สต.” ที่สนับสนุนการปรับทิศทางการ ความชัดเจน แม้เวลาล่วงเลยมานาน แต่ก็
ยั่งยืน PHC towards SDGs” ณ ห้องประชุม สร้างเสริมสุขภาพและการสาธารณสุขมูลฐาน ไม่ได้ล้าสมัย โดยในช่วงท้าย นายแพทย์
ณัฐ ภมรประวัติ สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน ในยุคใหม่ที่ก้าวไกลกว่าการสร้างการมีส่วน อ�าพล จินดาวัฒนะ ได้อัญเชิญพระปฐม
มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ร่วมพัฒนางานสาธารณสุขชุมชนแบบเดิม บรมราชโองการ ของ พระบาทสมเด็จพระ
นายแพทย์อ�าพล จินดาวัฒนะ กล่าวว่า นอกจากนี้ได้มีการพัฒนามาถึงยุค “ทุกภาค วชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๑๐) เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม
ในประเทศไทย ยุทธศาสตร์สาธารณสุขมูลฐาน ส่วน เพื่อสุขภาพของคนทั้งมวล” “All for ๒๕๖๒ ที่ว่า “เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด
ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นการต่อยอดงานเดิม โดย Health for All” โดยมีระบบโครงสร้าง กลไก และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์
เราได้ขยับยกระดับงานพัฒนาสาธารณสุขไป และกระบวนการท�างานที่หลากหลาย ไม่ใช่ สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป” โดย
ถึง “การพัฒนาคุณภาพชีวิต” ที่ผ่านมาเรามี การท�างานเฉพาะภายใต้สาขาสาธารณสุข นายแพทย์อ�าพล จินดาวัฒนะ กล่าวว่า
การขับเคลื่อนมาเป็นล�าดับจนเกิด “การสร้าง เท่านั้น ซึ่งการปรับระบบ กลไก และวิธีท�างาน พวกเราควรท�างานพัฒนาสุขภาพ และ
ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” มีการ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพที่กล่าวมาเหล่านี้ ก็คือ สาธารณสุขสนองพระองค์ท่าน เพื่อประโยชน์
จัดตั้ง ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง การปฏิรูประบบสุขภาพในหลายระดับ สุข แห่งอาณาราษฎร โดยเน้น สืบสาน รักษา
เสริมสุขภาพ (สสส.) ออกกฎหมายดึงเงินเพิ่ม เพื่อให้การท�างานพัฒนาสุขภาพสอดคล้อง และต่อยอด “หลักคิด และ หลักท�า”
จากภาษีบุหรี่และเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์มา และเท่าทันสภาพสังคม “โลก” และ “โรค” ของการสาธารณสุขมูลฐานให้พัฒนา
สนับสนุนทุกภาคส่วนร่วมท�างานสร้างเสริมสุข ที่เปลี่ยนไป เช่น การด�าเนินงานของหน่วย ก้าวหน้าสืบไป
ภาพอย่างกว้างขวาง ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม งานภาคสาธารณสุขกับไปรษณีย์ไทยในการ ขอขอบคุณข้อมูลและภาพจาก AIHD
วิทยาลัยราชสุดา ม.มหิดล ร่วมจัดนิทรรศการแสดงผลงานกราฟิกสร้างสรรค์
จากฝีมือนักศึกษาพิการทางการได้ยินและอาสาสมัคร ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
ฉัตรดาว นิยมสุจริต
เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ อาจารย์ ละครใบ้ Baby mime ที่มาช่วยสื่อสารแบบ บริษัท กล่องดินสอ จ�ากัด และ วิทยาลัยราชสุดา
ดร.วรางคณา รัชตะวรรณ รักษาการแทนรอง ไร้เสียงเพื่อขยายความหมายของเรื่องราวให้ ร่วมกับ กองกิจการนักศึกษา และ กองเทคโนโลยี
คณบดีฝ่ายการศึกษา กิจการนักศึกษา และ แจ่มชัดมากยิ่งขึ้น พร้อมด้วยบุคลากรวิทยาลัย สารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยด�าเนินการ
สื่อสารองค์กร วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัย ราชสุดาเข้าร่วมงานเปิดนิทรรศการดังกล่าว สอนที่ True Lab ชั้น ๒ อาคารศูนย์การเรียนรู้
มหิดล ร่วมเปิดนิทรรศการจัดแสดงผล ทั้งนี้ ผลงานที่จัดแสดงในนิทรรศการเป็น มหิดล ตั้งแต่วันที่ ๑ – ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๒
งานกราฟิกสร้างสรรค์จากฝี มือนักศึกษา ของผู้เข้ารับการอบรมในโครงการ ‘เรียนด้วย ภายใต้การดูแลของ อาจารย์ ดร.ณัฏฐนียา
พิการทางการได้ยินและอาสาสมัครจาก กัน’ ซึ่งเป็นโครงการต้นแบบเพื่อพัฒนาทักษะ โตรักษา โดยนิทรรศการ See Scene
มหาวิทยาลัยมหิดล ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง ความสามารถด้านการออกแบบกราฟิกส�าหรับ เปิดให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าชมผลงาน
กรุงเทพมหานคร ภายใต้แนวคิด ‘See Scene’ ผู้พิการทางการได้ยินและส่งเสริมสังคมการอยู่ ‘เรียนด้วยกัน’ ระหว่างวันที่ ๒๓ – ๒๘ กรกฎาคม
ที่ให้นักศึกษาพิการและอาสาสมัครบอกเล่า ร่วมกัน เกิดขึ้นโดยความร่วมมือของ ส�านักงาน ๒๕๖๒ ชั้น ๔ หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง
‘ช่วงเวลาที่ประทับใจที่สุดของวัน’ ร่วมกับคณะ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรุงเทพมหานคร
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 21