Page 24 - MU_8Aug62
P. 24

กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
              รองศาสตราจารย์ ดร.กิติกร จามรดุสิต
             รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

                หลักเกณฑ์การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย


                      ในการท�างาน ส�าหรับผู้รับจ้าง พ.ศ. ๒๕๖๒




                  จากสถิติข้ อมูลการประสบ
               อุบัติเหตุจากการท�างานที่เกิดขึ้น
               ในมหาวิทยาลัยมหิดล ปี ๒๕๖๑
               ที่ผ่านมา พบว่า อุบัติเหตุส่วนใหญ่
               เกิดขึ้นกับลูกจ้างของผู้รับจ้างโดย
               มีสาเหตุหลักๆ  จากการปฏิบัติ
               งานและสภาพการท�างานที่ต�่ากว่า
               มาตรฐาน เช่น ผู้ปฏิบัติงานขาด
               ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน
               ขาดการตรวจสอบสภาพความ
               ปลอดภัยในพื้นที่ก่อนปฏิบัติงาน
               เป็นต้น ซึ่งการเกิดอุบัติเหตุแต่ละ
               ครั้งมีความรุนแรงและความเสีย
               หายในระดับที่แตกต่างกัน ได้แก่
               เสียหายต่อทรัพย์สิน  เสียชีวิต   หลักเกณฑ์การบริหารจัดการด้าน
               เสียอวัยวะหรือพิการ ศูนย์บริหาร  ความปลอดภัยในการท�างาน
               ความปลอดภัย  อาชีวอนามัย       ส�าหรับผู้รับจ้าง พ.ศ.๒๕๖๒ ซึ่งให้
               และสภาพแวดล้อมในการท�างาน      ทุกส่วนงานใช้ ประกาศนี้เป็ น
               (COSHEM)  ได้เล็งเห็นปัญหา     ส่วนหนึ่งของเอกสารแนบท้าย
               ส�าคัญที่เกิดขึ้นกับลูกจ้างของผู้รับ  สัญญาจัดซื้อจัดจ้างทุกการจัดหา
               จ้างที่เข้ามาปฏิบัติงานภายใน   พัสดุที่เกี่ยวข้องกับงานจ้างเหมา
               มหาวิทยาลัยจึงได้จัดท�าระเบียบ  ภายในมหาวิทยาลัย              ทุกคน เพื่อให้บริหารจัดการและ
               และข้ อก�าหนดในด้ านความ            นอกจากนี้  ศูนย์  COSHEM  ด�าเนินการด้านความปลอดภัย
               ปลอดภัยในการท�างานส�าหรับ      เล็งเห็นว่าการฝึกอบรมด้านความ อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
               ผู้รับจ้าง  โดยออกเป็นประกาศ   ปลอดภัย  อาชีวอนามัย  และ ในการท�างานได้อย่างปลอดภัย
                                              สภาพแวดล้อมในการท�างานให้แก่ จึงได้จัดท�า “โครงการเสริมสร้าง
                                              ลูกจ้างเหล่านี้ มีความส�าคัญอย่าง วัฒนธรรมความปลอดภัยของ
                                              ยิ่งในการช่วยลดปัญหาดังกล่าว  ผู้รับจ้าง” เพื่อให้ลูกจ้างมีความรู้
                                              รวมถึงเป็นการสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการป้องกันอุบัติเหตุ
                                              ด้านความปลอดภัยในการท�างาน  และการสร้างความปลอดภัยใน
                                              มุ่งสู่วัฒนธรรมความปลอดภัย                                                   การปฏิบัติงาน รวมถึงการรับทราบ
                                              เชิงป้องกัน  และสอดคล้องตาม  ข้อบังคับหรือข้อควรปฏิบัติส�าหรับ
                                              พระราชบัญญัติความปลอดภัย  การปฏิบัติงานภายในพื้นที่ของ
                                              อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม มหาวิทยาลัย  และลดโอกาสใน
                                              ในการท�างาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา  การเกิดการบาดเจ็บและอุบัติเหตุ
                                              ๑๖ ก�าหนดให้อธิการบดีประกาศ จากการท�างาน  ส�าหรับลูกจ้าง
                                              ก�าหนดหลักเกณฑ์  วิธีการ  และ ที่ผ่านการอบรมจะได้ รับบัตร
                                              เงื่อนไขการฝึกอบรมด้านความ เพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงว่าบุคคล
                                              ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ นั้นผ่านการอบรมตามหลักเกณฑ์
                                              แวดล้ อมในการท�างานให้ กับ                                       ของมหาวิทยาลัย
                                              ผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้าง





   24     August 2019                                             M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28