Page 23 - MU_8Aug62
P. 23

Special Scoop
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม


                         ๒๕ ปี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล


                  ๒๑  กันยายน  ๒๕๖๒  นี้  จะเป็ น  ซึ่งจากเดิมเราเป็นวิทยาลัยที่บริหารจัดการ
               วันสถาปนาวิทยาลัยดุริยางคศิลป์    ด้วยตัวเอง ตั้งแต่มหาวิทยาลัยออกนอก
               มหาวิทยาลัยมหิดล ครบรอบ ๒๕ ปี   ระบบเป็นมหาวิทยาลัยในก�ากับของรัฐกฎ
               จากจุดเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน  วิทยาลัย  ระเบียบข้อบังคับทั้งหลายได้กลับไปอิง
               ดุริยางคศิลป์  มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ผลิตนัก  กับของทางมหาวิทยาลัย จึงต้องมาดูกันว่า
               ดนตรีคุณภาพที่มากด้วยความคิดสร้างสรรค์  ท�าอย่างไรที่เราจะปรับระเบียบพวกนั้นให้
               และความสามารถไปประดับวงการ สร้างชื่อ  เกิดความคล่องตัวให้มากที่สุดกับวิทยาลัย
               เสียงให้กับประเทศ  และน�ากิจกรรมดนตรีที่ดี  โดยตนได้พยายามจะสร้างลักษณะนิสัย
               มีคุณภาพสู่สังคมมากมาย ไม่ว่าจะเป็น เบน   ใหม่ให้กับองค์กร โดยส่งเสริมให้ทุกคน
               ชลาทิศ, พัดชา อเนกอายุวัฒน์,  เก่ง-ธชย   ในองค์กรได้ปรับเปลี่ยนตัวเอง ให้มีความ
               ประทุมวรรณ, ณัฐรุจา ชุติวรรณโสภณ   สามารถในการปรับเปลี่ยนแผนงานที่
               (แก้ว BNK48) หรือ บุตรศรัณย์ ทองชิว   จะท�าอย่างรวดเร็ว ทันท่วงทีตลอดเวลา
               (น�้าตาล) ฯลฯ                  นอกจากนี้ ตนได้พยายาม decentralize
                  วิทยาลัยดุริยางคศิลป์  มหาวิทยาลัย  ให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
               มหิดล ก่อตั้งเมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๓๗
               เป็นวิทยาลัยดนตรีมีฐานะเทียบเท่า คณะหนึ่งใน
               ก�ากับของมหาวิทยาลัยมหิดล เปิดสอนวิชา
               เกี่ยวกับดนตรีโดยเฉพาะ ตั้งแต่ระดับเตรียม
               อุดมดนตรี (ม.๔ - ม.๖) จนถึงระดับปริญญา
               เอก โดยเป็ นสถาบันเดียวในประเทศที่
               เปิดสอนวิชาดนตรีในระดับปริญญาเอก
               มีอาจารย์ที่ช�านาญในเครื่องดนตรีแต่ละ                         ผ่านสภามหาวิทยาลัย แล้วกองทุนนี้ก็จะมี
               ชนิดโดยเฉพาะเป็นสถาบันเดียวในประเทศ                           ความสมบูรณ์ โดยในอนาคตเราอาจจะน�า
               ที่เปิดสอนทั้งด้านแนวเพลงไทย และแนว                           เงินไปลงทุนในแพคเกจที่มหาวิทยาลัย
               เพลงสากล เป็นวิทยาลัยชั้นน�าด้านดนตรี                         จัดขึ้นมาเพื่อให้ได้ดอกผลที่สูงขึ้น ซึ่งจะ
               ของประเทศ ซึ่งเป็นที่หมายของเยาวชนที่มี                       ช่วยท�าให้เรามีเงินกลับมาเป็นทุนการศึกษา
               ความฝันในการประกอบอาชีพในเส้นทาง                              ของนักเรียนนักศึกษาได้มากขึ้น และใน
               สายดนตรี หลายคนรู้จักดีจากภาพยนตร์                                                                                                       โอกาสครบรอบ ๒๕ ปีวิทยาลัย จะมีการ
               “Seasons Change เพราะอากาศ                                    จัดคอนเสิร์ตเพื่อเป็ นการ fund raising
               เปลี่ยนแปลงบ่อย” ของ GTH ซึ่งออกฉาย                                                                                                      เข้ากองทุนดังกล่าวด้วย
               เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยบอกเล่าถึงเรื่องราวและ                      “การเดินทาง  ๒๕  ปีของวิทยาลัย
               ชีวิตของการเป็นนักเรียนวิทยาลัยดุริยางคศิลป์                  ดุริยางคศิลป์  มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นการ
               มหาวิทยาลัยมหิดล มีเพลง “ฤดูที่แตกต่าง”                       เดินทางที่เจริญเติบโตงอกงามได้อย่าง
               ที่ขับร้องโดย นภ พรช�านิ เป็นแรงบันดาลใจ                      รวดเร็วมาก ตอนนี้เราก็พยายามดูแลต้นไม้
               ในการตั้งชื่อภาพยนตร์เรื่องนี้                                ที่ก�าลังโตไว ให้มีรากที่แข็งแรงสมบูรณ์
                  ดร.ณรงค์  ปรางค์เจริญ  คณบดี  เปิดโอกาสให้ได้แสดงความคิดเห็น แล้วก็ มากขึ้น ไม่มีอะไรที่จะมีคุณค่าไปกว่าการร่วมแรง
               วิทยาลัยดุริยางคศิลป์  มหาวิทยาลัยมหิดล   รับความคิดเห็นนั้นมาปรับใช้กับองค์กร  ร่วมใจกันของชาววิทยาลัยดุริยางคศิลป์
               เล่าว่า ตนมาด�ารงต�าแหน่งคณบดี สืบต่อ                                                                       โดยหวังจะช่วยท�าให้ทุกคนรักองค์กร                                                                             มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งศิษย์เก่า และ
               จาก รองศาสตราจารย์ ดร.สุกรี เจริญสุข   มากขึ้น มีความผูกพันกับองค์กรมากขึ้น  ศิษย์ปัจจุบัน มาร่วมฉลองครบรอบ ๒๕ ปี
               ผู้ก่อตั้งวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ.   นอกจากนี้ จะมีการดู  feedback  จาก                                                                                        มาร่วมแสดงพลังให้สังคมเห็นว่าเรา
               ๒๕๖๐ การที่มารับงานต่อจากอาจารย์สุกรี  stakeholder อื่นๆ มาลองปรับดูด้วยว่ามีอะไรที่ รวมตัวกันอย่างมีพลังมากเท่าใด แล้วก็พลัง
               เป็นเรื่องยาก                  จะสามารถช่วยในการปรับตัวได้ในอนาคต ที่เรามีจะเป็นพลังที่ไปช่วยส่งเสริมให้สังคม
               มาก เพราะว่า                      ดร.ณรงค์ ปรางค์เจริญ เล่าต่อไปว่า เมื่อ มีคุณภาพที่ดีขึ้นได้อย่างไร ซึ่งตนคิดว่า
               ท่านได้ทุ่มเท                  ประมาณปลายปีที่ผ่านมา ตนได้มีโอกาสเข้า เป็นสิ่งที่ทุกคนก�าลังจับตามอง  เราเป็ น
               ทั้งชีวิตในการ                 พบ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์  นักดนตรี  เราควรจะต้องรับใช้สังคม
               สร้ างงานที่                   และได้ปรึกษาเรื่อง “กองทุนเปรมดนตรี”  ด้วยเสียงดนตรี เพราะฉะนั้นท�าอย่างไร
               นี่ขึ้นมา  และ                 ว่า วิทยาลัยมีกองทุน แต่วิธีการใช้เงินใน ที่เราจะใช้เสียงดนตรีเพื่อให้สังคม
               อาจารย์สุกรี                   กองทุนนั้นยังไม่ค่อยชัดเจน โดยวิทยาลัย จะ มีสุขภาวะที่ดีขึ้น” ดร.ณรงค์ ปรางค์เจริญ
               เป็ นบุ คคล                    เอามาท�าเป็นกองทุนที่อยู่กับวิทยาลัยไป กล่าวทิ้งท้าย
               ที่ น่ าชื่ นชม                เรื่อยๆ โดยไม่สามารถถอนเงินต้นออก  เตรียมพบกับกิจกรรมดีๆ มากมาย
               มาก  เพราะ                     มาได้ จะมีการใช้เพียงดอกผลของกอง ในโอกาสเฉลิมฉลองครบรอบ ๒๕ ปี
               ในการที่จะสร้างวิทยาลัยให้ดีในระดับ  ทุนเท่านั้นในการน�ามาจ่ายเป็ นทุนการ จากศิษย์เก่า  และศิษย์ปัจจุบันของ
               นี้ได้  ต้องใช้  passion  อย่างสูงจริงๆ                                                              ศึกษาให้กับนักเรียนนักศึกษา ไม่ทราบ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์   มหาวิทยาลัย
               สิ่งที่ตนคาดหวัง  คือ  จะท�าอย่างไร                       ว่าท่านมีความคิดเห็นว่าอย่างไร ซึ่งท่านได้ มหิดล ได้ในเดือนกันยายน ๒๕๖๒ นี้
               ให้วิทยาลัยสามารถอยู่ได้ด้วยตัวเอง                                                                 อนุมัติให้ด�าเนินการ เราจึงได้มีเอกสารที่เป็น ติดตามได้ที่ FB: College of Music,
               ในระยะยาว จึงได้พยายามปรับองค์กร  จุดเริ่มต้นในการจัดตั้ง “กองทุนเปรมดนตรี”  Mahidol University
               ให้มีระบบมากขึ้น  คล่องตัวมากขึ้น                              ขึ้นมา ตอนนี้เหลือเพียงขั้นตอนสุดท้ายคือการ  ขอขอบคุณภาพจากวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ม.มหิดล

                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      23
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28