Page 20 - MU_8Aug62
P. 20

Special Article
             พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์
                         ถักทอสันติภาพผ่านงานศาสนสัญจรสู่สุขภาวะ ปี ๒๕๖๒

                                                                                               พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์


























                  อาจารย์ ดร.พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์  วิธีชายแดนใต้ สถาบันสิทธิมนุษยชนและ ไปเป็นอันมาก ข้อสมมติฐานของงานวิจัย
               อาจารย์ประจ�าสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติ สันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลเข้าร่วม ที่ว่าผู้น�าศาสนามีศักยภาพและบทบาทใน
               ศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล หัวหน้าโครงการ ปฏิบัติงานด้วย          การสร้างสันติภาพในชุมชนได้ผ่านการสาน
               วิจัย เรื่อง “บทบาทผู้น�าศาสนากับการสร้าง  โครงการวิจัยดังกล่าวเริ่มต้นมาตั้งแต่ สัมพันธ์ร่วมกันระหว่างผู้น�าและศาสนิกโดยใช้
               สันติภาพในชายแดนใต้” น�าทีมสาธารณสุข ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ มีวัตถุประสงค์เพื่อจะค้นคว้า กิจกรรมการดูแลสุขภาวะทั้ง ๕ ด้าน คือร่างกาย
               จากโรงพยาบาลอ�าเภอยะหริ่ง จ.ปัตตานี ออก วิจัยบทบาทผู้น�าศาสนากับการท�างานเพื่อมี อารมณ์ จิตใจ จิตวิญญาณ และความสัมพันธ์
               ให้บริการตรวจคัดกรองและให้ค�าปรึกษา ส่วนร่วมในการสร้างสันติภาพโดยการถักทอ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีในการอยู่ร่วม
               แนะน�าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความ สายสัมพันธ์ระหว่างผู้คนต่างศาสนา ชาติพันธุ์                      กัน เมื่อความสัมพันธ์ทางสังคมแข็งแรงก็จะ
               เสี่ยงโรคเบาหวาน หัวใจ ความดันและหลอด และวัฒนธรรมในชายแดนใต้เป็นหลัก ทั้งนี้  ส่งผลต่อสันติภาพในชุมชนด้วยซึ่งเป็น
               เลือดในพระสงฆ์และผู้น�าศาสนา ใน ๓ จังหวัด เพราะความรุนแรงถึงตายอันยืดเยื้อมากว่า  หัวใจส�าคัญของการสร้างสันติภาพเชิงบวก
               ชายแดนใต้ เมื่อเร็วๆ นี้ โดยในครั้งนี้ นางสาว ๑๕ ปีนั้นกร่อนเซาะบ่อนท�าลายความสัมพันธ์ (Positive Peace from below) จากภาค
               ชารีต้า ประสิทธิหิมะ เจ้าหน้าศูนย์สันติ ระหว่างชาวพุทธ – มุสลิมและคนอื่นๆ ในพื้นที่ ประชาชนด้วยกัน
                     “นิทาน เด็ก ผู้สูงอายุ: การส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุค Aging Society”

                                                      ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี ทยานศิลป์ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
                  เมื่อพูดถึง “นิทาน” หลายท่านทราบกัน แล้วว่ามีประโยชน์ต่อพัฒนาการของเด็ก ขณะ หลังจากได้อ่านนิทาน
               แล้วว่านิทานเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ต่อ เดียวกันผู้สูงอายุก็ได้รับประโยชน์เช่นเดียวกัน  ค�ากลอนให้หลานฟัง
               พัฒนาการของเด็ก ทั้งด้านสติปัญญาและ เรียกได้ว่า กิจกรรมเดียว แต่ได้ประโยชน์ Win- เป็นประจ�า โดยสรุป
               ด้านอารมณ์ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กผ่าน Win ทั้งปู่ย่าตายายและหลาน ข้อมูลที่ก�าลัง ผลงานวิจัยทั้ง ๒ ชิ้น
               การสนับสนุนให้พ่อแม่อ่านหรือเล่านิทานให้ กล่าวถึงอยู่นี้ได้มาจากผลงานวิจัย ๒ เรื่องที่ นี้พอที่จะเป็นเครื่อง
               ลูกน้อยฟังจึงเป็นกลยุทธ์หนึ่ง นั่นเป็นภาพใน ด�าเนินการภายใต้ชุดโครงการวิจัยเดียวกัน เพื่อ พิสูจน์แล้วว่านิทานยัง
               อดีตที่พ่อแม่คือบุคคลหลักในการเลี้ยงดูเด็ก  ตอบค�าถามการวิจัยว่าพัฒนาการด้านภาษา คงเป็นประโยชน์ต่อ
               แต่หากมองสถานการณ์ในยุคนี้แล้วผู้ที่ดูแลเด็ก ของเด็กจะดีขึ้นหรือไม่ ถ้ามีปู่ ย่า ตา หรือยาย การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กๆ โดยเฉพาะ
               คงไม่ใช่มีแต่พ่อแม่เท่านั้น ปู่ย่าตายายสูงวัย สูงวัยมาอ่านนิทานให้ฟัง และการอ่านนิทาน พัฒนาการด้านภาษา แม้ว่าผู้ที่อ่านนิทานจะ
               ได้กลายมาเป็นผู้ช่วยในการเลี้ยงดูเด็กและใน ให้หลานฟังอย่างสม�่าเสมอจะช่วยชะลอความ เป็นปู่ย่าตายายสูงอายุก็ตาม ขณะเดียวกัน
               บางครอบครัวปู่ย่าตายายเป็นผู้ดูแลหลักด้วย เสื่อมของความจ�าระยะสั้นของปู่ ย่า ตา หรือ นิทานก็ยังเป็นประโยชน์ต่อการชะลอความ
               ซ�้า สถานการณ์เช่นนี้อาจเพิ่มมากขึ้นเพราะ ยายได้หรือไม่ โครงการนี้ท�าวิจัยโดยการให้ปู่  จ�าระยะสั้นของปู่ย่าตายายสูงวัยได้อีกด้วย
               ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุมากขึ้นและพ่อแม่ ย่า ตา หรือยายสูงวัยอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป กิจกรรมเดียวได้ประโยชน์ต่อคนทั้ง ๒ วัย และ
               ยุคใหม่ก็ต้องท�างานมากขึ้น แต่ปู่ย่าตายาย ที่อ่านหนังสือออก ไม่มีความผิดปกติทางการ ที่ส�าคัญที่สุดที่ได้จากงานวิจัยนี้คือได้พิสูจน์
               เหล่านี้จ�านวนไม่น้อยไม่ได้รับความรู้ในเรื่อง มองเห็น การพูด และการได้ยิน ท�าหน้าที่อ่าน แล้วว่า “ผู้สูงวัย ก็สามารถท�าบทบาทเสริม
               การส่งเสริมพัฒนาการให้กับหลานๆ ที่ท่าน นิทานให้หลานอายุ ๓ – ๕ ปีฟัง สัปดาห์ละ ๕  หรือทดแทนพ่อแม่ในด้านของการส่งเสริม
               ก�าลังดูแลอยู่ โดยเฉพาะในเด็กเล็กๆ ซึ่งเป็น วัน วันละ ๕ เล่ม เป็นระยะเวลาติดต่อกัน ๑๒  พัฒนาการเด็กได้ หากได้รับการสนับสนุน
               ช่วงวัยทองของการเรียนรู้และเป็นรากฐานของ สัปดาห์ โดยหนังสือนิทานที่ใช้ในการวิจัยนี้เป็น ที่มากยิ่งขึ้น”
               พัฒนาการที่ดีต่อๆ ไป ดังนั้น การสนับสนุน หนังสือนิทานค�ากลอนค�าคล้องจองที่เหมาะสม
               บทบาทและศักยภาพของปู่ ย่าตายายใน กับเด็กปฐมวัยจ�านวนทั้งสิ้น ๑๐ เรื่อง  ที่มาของข้อมูล:
               การส่งเสริมพัฒนาการเด็กเพื่อเสริมหรือ  ผลการวิจัยพบว่า หลังจากที่ปู่ ย่า ตา หรือ  ๑. อมขวัญ รัตนกิจ และสาวิตรี ทยานศิลป์ .
               ทดแทนบทบาทของพ่อแม่ที่จ�าเป็นต้องมุ่ง ยายอ่านนิทานให้หลานฟังอย่างสม�่าเสมอ  ๒๕๕๔. ผลของการอ่านหนังสือนิทานให้เด็กปฐมวัยต่อ
               ท�ามาหาเลี้ยงครอบครัวอยู่นอกบ้าน จึงเป็น แล้ว หลานตัวน้อยมีพัฒนาการด้านภาษา  ความจ�าระยะสั้นของผู้สูงอายุ. วารสารความปลอดภัย
               แนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในยุค Ag- ซึ่งวัดจากคะแนนความสามารถทางการพูด  และสุขภาพ. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑๔ เดือนมีนาคม-พฤษภาคม
                                                                             ๒๕๕๔.
               ing Society ที่อยากจะฝากไว้    ทั้งด้านความคล่อง ความหลากหลายของค�า  ๒. หัสดิน แก้ววิชิต และสาวิตรี ทยานศิลป์ . ๒๕๕๔.
                  “การส่งเสริมให้ปู่ย่าตายายสูงวัยเป็นผู้ ศัพท์ และจ�านวนถ้อยค�า สูงขึ้นและสูงกว่าเด็ก  ผลของการอ่านหนังสือนิทานโดยผู้สูงอายุต่อความ
               อ่านหรือเล่านิทานให้หลานตัวน้อยฟัง” เป็น ที่ไม่มีปู่ย่าตายายอ่านนิทานให้ฟัง ส่วนคุณ  สามารถทางการพูดของเด็กปฐมวัย. วารสาร
               หนึ่งในแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กผ่าน ปู่ คุณย่า คุณตา หรือคุณยายก็สามารถท�า  ความปลอดภัยและสุขภาพ. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑๔
               บทบาทของผู้สูงอายุ ที่ได้ผ่านการพิสูจน์มา คะแนนในแบบทดสอบความจ�าระยะสั้นได้ดีขึ้น  เดือนมีนาคม-พฤษภาคม ๒๕๕๔.
   20     August 2019                                             M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25