Page 18 - MU_8Aug62
P. 18

Research Excellence
             ฐิติรัตน์ เดชพรหม

                  ครั้งแรกในประเทศไทย อาจารย์ทันตฯมหิดล คิดค้น “สารแทนกระดูกรีไซเคิลพร้อมใช้”
                                ปลูกถ่ายเสริมกระดูกเบ้าฟัน เพื่อการรักษาทางทันตกรรม

                                         และศัลยศาสตร์ช่องปากและขากรรไกร
                                              กระดูกที่ได้จากกระบวนการแปรรูปฟันที่ถูกถอน
                                              จึงมีความคล้ายกับกระดูกของมนุษย์ โดยมีทั้ง
                                              สารอนินทรีย์หลักคือ Calcium และ Phosphate
                                              และสารอินทรีย์อื่นๆ ที่ช่วยส่งเสริมการเกาะ
                                              ของเซลล์กระดูก นอกจากนี้มีแนวโน้มที่จะ
                                              สามารถสลายตัวได้เองในร่างกาย โดยการ
                                              สลายตัวที่เกิดขึ้นจะเป็นไปอย่างช้ าๆ  เทียมได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
                                              เหมาะสมเวลาที่ร่างกายสร้างกระดูกใหม่มา นอกจากนี้ องค์ความรู้พื้นฐานจากผลการ
                  จากปัญหาสาธารณสุขที่ส�าคัญใน  ทดแทน” รองศาสตราจารย์  ดร.ดุษมณี                                        ทดลองยังสามารถน�ามาศึกษาวิจัยต่อยอด เพื่อ
               ประเทศไทย พบว่าประชากรไทยมีการสูญเสีย  เสรีวัฒนาชัย กล่าว     พัฒนาแนวทางการศึกษาเปรียบเทียบการใช้
               ฟันก่อนวัยอันควรเป็นจ�านวนมาก นอกจากนี้   รองศาสตราจารย์   ดร.ดุษมณี                             สารแทนกระดูกชนิดต่างๆ ให้เหมาะสม และได้
               ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่สามารถกระตุ้นท�าให้เกิดสูญเสีย  เสรีวัฒนาชัย กล่าวต่อไปว่า การวิจัยชิ้นนี้จะ ผลดีที่สุดต่อผู้เข้ารับการรักษาได้ต่อไป โดยหวัง
               ฟันเร็วกว่าปกติ เช่น โรคปริทันต์อักเสบ การสูบบุหรี่   มีประโยชน์ทั้งต่อบุคลากรทางทันตกรรม และ ให้งานวิจัยนี้มีผลส�าเร็จไปถึงขั้นทดลอง
               หรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุ ซึ่งเมื่อเกิดการสูญเสีย  กลุ่มคนที่ต้องการรับการรักษาเพื่อปลูกกระดูก ในคน เพราะผลวิจัยที่ได้จะเป็นหลักฐาน
               ฟันไปแล้ว จะยิ่งไปกระตุ้นให้เกิดการสลายของ  เบ้าฟันให้เพียงพอก่อนการรักษาทางทันตกรรม ทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถน�าไปยืนยัน
               กระดูกเบ้าฟัน และขากรรไกรมากขึ้น  อื่นๆ เพราะจะท�าให้สามารถประหยัดงบ เพื่อประกอบการตัดสินใจของทันตแพทย์
                  รองศาสตราจารย์ ดร.ดุษมณี เสรีวัฒนาชัย   ประมาณทางการสาธารณสุขของประเทศ ในการเลือกใช้สารแทนกระดูกนี้ได้
               สาขาสรีรวิทยา ภาควิชาชีววิทยาช่องปาก คณะทันต  ได้ในระยะยาว  เนื่องจากสามารถลด                   “โครงการวิจัยนี้จะไม่สามารถเกิดขึ้น
               แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้คว้าทุน  ค่าใช้จ่ายของผู้ที่เข้ารับการรักษาได้เป็ น ได้เลยถ้าไม่ได้รับการสนับสนุนจากคณะ
               ช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และ                           ทันตแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล
               เทคโนโลยี จากมูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริม                      ทั้งบุคลากรในภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปาก
               วิทยาศาสตร์ประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ จากผล                     และแม็กซิลโลเฟเชียล  ภาควิชาชีววิทยา
               งานวิจัย เรื่อง “คุณลักษณะทางเคมีฟิสิกส์                      ช่องปาก ภาควิชาจุลชีววิทยาช่องปาก ส่วนงาน
               และโครงสร้างพื้นผิวของสารแทนกระดูกที่ได้                      ของโรงพยาบาลทันตกรรม รวมทั้งหน่วยวิจัย
               จากขบวนการแปรรูปฟันที่ถูกถอน” โดยได้                          ของคณะทันตแพทยศาสตร์ ศาสตราจารย์
               คิดค้น “สารแทนกระดูกรีไซเคิลพร้อมใช้”                         ทันตแพทย์ณัฐเมศร์ วงศ์สิริฉัตร และ
               เป็นครั้งแรกในประเทศไทย จากกระบวนการ                          นักศึกษาปริญญาโท นายมานพ คานียอร์
               แปรรูปฟันที่ถูกถอนโดยทันที และกระบวนการ  อย่างมาก จากเดิมที่ใช้สารแทนกระดูกที่ โดยทุนโทเรนี้เป็นสิ่งแทนความส�าเร็จ
               ที่ใช้เป็นกระบวนการสามารถท�าได้ทันทีใน  ท�ามาจากกระดูกวัว หรือสารสังเคราะห์  ของทุกๆ คน และเป็นก�าลังใจให้ทีมวิจัยเดินหน้า
               คลินิก และสามารถทดสอบได้แล้วว่าไม่มีการ  ซึ่งมีราคาสูง ในขณะที่สารแทนกระดูกที่ ท�างานต่อไป” รองศาสตราจารย์ ดร.ดุษมณี
               ปนเปื้อนของแบคทีเรีย ก่อนน�ามาใส่กลับเข้าไป  ได้จากกระบวนการแปรรูปฟันที่ถูกถอน เสรีวัฒนาชัย กล่าวทิ้งท้าย
               ในคนไข้ ซึ่งขณะนี้ก�าลังอยู่ขั้นตอนการทดลอง  ของผู้เข้ารับการรักษาเองที่เราคิดค้นขึ้น
                  “องค์ประกอบของอวัยวะในช่องปากไม่ได้  นั้นจะสามารถน�ามาใช้ได้
               มีเฉพาะฟัน เราควรให้ความส�าคัญกับส่วนอื่นๆ   ปลูกถ่ายได้ทันที  และที่
               ประกอบด้วย ซึ่งกระดูกเบ้าฟันเป็นหนึ่งใน  ส�าคัญมีค่าใช้จ่ายถูกกว่า
               รากฐานที่ส�าคัญที่จะส่งเสริมให้ฟันมีความ  มาก ปัจจุบันได้ผ่านขั้นตอน
               แข็งแรง เมื่อกระดูกเบ้าฟันมีความแข็งแรง  การศึกษาคุณลักษณะทาง
               และมีปริมาณเหมาะสมก็จะเป็นปัจจัยที่เกื้อหนุน                                                                 เคมีฟิสิกส์และโครงสร้างของ
               ให้การรักษาทางทันตกรรมมีความส�าเร็จ   พื้นผิว โดยใช้เทคนิคสแกน
               เหมือนกับพื้นดินที่มั่นคงแข็งแรงเมื่อปลูก  นิ่งอิเล็กตรอนไมโครสโคป
               ต้นไม้ลงไป ก็จะสามารถทนกับแรงต่างๆ ที่มา  วิเคราะห์โครงสร้างคริสตัล
               กระทบได้ดี สารปลูกถ่ายแทนกระดูกมีความ  องค์ประกอบทางเคมีในเนื้อ
               ส�าคัญต่อการเพิ่มมวลโดยรวมของกระดูกเบ้า  สาร และอัตราการละลาย
               ฟันก่อนการวางแผนรักษาทางทันตกรรม ซึ่งมีให้  แคลเซียมและฟอสเฟตอย่าง
               เลือกใช้อยู่มากมายในท้องตลาด แต่มีราคา  ต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังได้มี
               สูงมาก ท�าให้ไม่สามารถเข้าถึงได้ในทุกกลุ่มคน   การประเมินประสิทธิภาพ
               จึงได้มีการศึกษาคุณลักษณะทางเคมีฟิสิกส์   การก�าจัดแบคทีเรียจาก
               และโครงสร้างพื้นผิวของฟันที่ถูกถอนโดย  กระบวนการแปรรูปฟันใน
               ทันที เพื่อน�ามาแปรรูปใช้เป็นสารแทนกระดูก   คลินิกว่ามีประสิทธิภาพเพียง
               เนื่องจากมีความได้เปรียบจากสารที่ใช้อยู่เดิม   พอในการก�าจัดแบคทีเรียหรือ
               เพราะฟันเป็นชิ้นส่วนในร่างกายมนุษย์ ไม่มี  ไม่ ก่อนน�ามาใส่กลับเข้าไป
               ความเป็นพิษต่อตัวผู้เข้ารับการรักษาเอง                                 ในคนไข้ ซึ่งผลงานวิจัยที่ได้
               และมีความปลอดภัยต่อเซลล์สิ่งมีชีวิต                     สามารถน�ามาประกอบการ
               ซึ่งเนื้อเยื่อของฟันแต่ละชั้นมีองค์ประกอบ  พิจารณาเพื่อวางแผนรักษาผู้
               คล้ายกับกระดูกของมนุษย์ สารแทน                                                                            ป่วยที่ก่อนรับการฝังรากฟัน


   18     August 2019                                             M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23