Page 21 - MU_6June62
P. 21

Special Article





                             รถ(ไม่)หัดเดิน ผลิตภัณฑ์อันตรายส�าหรับทารก


                                                                                          รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์
                                                                             ผู้อ�านวยการสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
                                                                                                 มหาวิทยาลัยมหิดล
                  ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมามีการตาย                   เมื่อใช้ผลิตภัณฑ์นี้  และไม่ช่วยในการ
               ของทารกจากการใช้รถลูกล้อที่เรียกกัน หัดเดิน
               ติดปาก จากความเข้าใจผิดของพ่อแม่  รถหัดเดินท�าให้เด็กเดินช้าเพราะ
               ว่า “รถหัดเดิน” ถึงสองรายจากการจมน�้า                    เมื่อเด็กเล็กที่อยู่ในรถหัดเดินเวลาจะ
               และ ถูกรถชน อีกหนึ่งรายบาดเจ็บหนัก                                                                         เคลื่อนที่จะใช้ปลายเท้าจิกลงและไถไป
               แต่ไม่เสียชีวิตจากการถูกสุนัขรุมกัด                                      ข้างหน้า แต่เวลาเด็กเริ่มเดินจริง กลไก
               ในความเป็นจริงยังมีการบาดเจ็บอีก                                                                           การเดินที่ถูกต้องจะใช้ส้นเท้าลงก่อน ดัง
               จ�านวนมากที่ไม่เป็นข่าวจากการใช้ นั้นเด็กที่อยู่ในรถหัดเดินนานหลายชั่วโมง
               ผลิตภัณฑ์ทารกประเภทนี้         ต่อวันเมื่อตั้งไข่ได้ดีแล้วจะก้าวเดิน เด็กจะ
                  รถพยุงตัวหรือเดิมเรียกรถหัดเดิน ใช้ ปลายเท้าจิกลง ซึ่งจะท�าให้ท่าทางการ
               เป็นอุปกรณ์ที่ยังคงวางขายทั่วไปในห้าง                       เดินทรงตัวได้ไม่ดี โดยทั่วไปเด็กที่อยู่ใน
               สรรพสินค้าและร้านของใช้เด็ก พ่อแม่                      รถหัดเดินหลายชั่วโมงต่อวันจะเดินได้ช้า
               ในสังคมไทยมีความเคยชินในการใช้เป็น กว่าเด็กที่ไม่ได้ใช้ประมาณ ๑ - ๓ เดือน
               อย่างมาก ส่วนใหญ่แล้วมักจะจัดหาให้เด็ก ในสิงคโปร์มีการวิจัยในเด็ก ๑๘๕ คน                         การบาดเจ็บจากการเข้าสู่จุดอันตราย
               เมื่อเด็กอายุประมาณ ๕ - ๖ เดือน การศึกษา พบว่าร้อยละ  ๑๐.๘  ของเด็กที่ใช้รถ                            ความเสี่ยงรอบบ้าน เด็กบนรถหัดเดิน
               พบว่าพ่อแม่ หาซื้อให้เด็ก ตั้งแต่เด็กอายุ                                                                                     หัดเดินเป็นประจ�าจะมีพัฒนาการด้านการ  จะเคลื่อนที่ได้ไกลและเร็ว เกิดการคลาด
               ประมาณ ๔ เดือน ร้อยละ ๕๐ คิดว่าจะ เคลื่อนไหวช้ากว่าเด็กที่ไม่ได้ใช้   สายตาจากพ่อแม่ได้ง่าย เด็กจะวิ่งชนโต๊ะ
               ช่วยให้เด็กเดินได้เร็วขึ้น ร้อยละ ๔๐ ให้เหตุผล                       แต่ที่เป็นผลเสียมากกว่านั้นคือ อันตราย  ที่วางกาน�้าร้อนอยู่ หรือวิ่งไปพร้อมกระชาก
               ว่า ใช้เพราะผู้ดูแลไม่ว่าง ต้องท�างานบ้าน จากอุบัติเหตุ จากการวิจัยพบว่าหนึ่งใน  สายไฟฟ้าของกาต้มน�้า น�้าร้อนมักจะลวก
               จึงต้องมีที่ที่วางเด็กไว้โดยไม่ต้องดูแลเอง  สามของเด็กที่ใช้รถหัดเดินจะเคยได้รับบาด  เป็นพื้นที่กว้าง ตั้งแต่ศีรษะลงมาถึงล�าตัว
               ซึ่งเป็ นเหตุผลที่ตรงข้ามกับข้อควร เจ็บจากรถหัดเดิน อันตรายที่รุนแรงพบได้  และแขนขา จมน�้าแหล่งน�้าในบ้าน หรือ
               ปฏิบัติในการใช้ทั้งสิ้น ในต่างประเทศ                           จากการตกจากที่สูง การพลิกคว�่าจากพื้นที่  รอบๆ บ้าน เช่น สระว่ายน�้า บ่อน�้า  หรือเพียง
               ในประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และบางรัฐ                                มีความต่างระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ  แค่คว�่าในอ่างน�้า ถังน�้า กะละมัง เป็นเหตุ
               ในสหรัฐอเมริกาได้มีกฎหมายห้ามมิให้                    ใช้รถหัดเดินในบ้านที่มีหลายชั้น หรือบ้าน  ให้เด็กจมน�้าได้ เคลื่อนออกพื้นที่ถนนท�าให้
               มีการจ�าหน่ายรถหัดเดินแล้ว ในบางรัฐให้มี ที่ยกระดับมีใต้ถุนบ้านแล้วมิได้ท�าประตู  ถูกรถชน สุนัขกัด เพียงเวลาไม่กี่นาทีที่เด็ก
               การจ�าหน่ายพร้อมค�าเตือนอันตรายแก่ผู้ซื้อ                                                                            กั้นหน้าบันได หรือท�าประตูกั้นแต่เปิดได้                               คว�่า หรือตกลงในภาชนะเก็บกักน�้าทั้งหลาย
               ในบ้านเราปัจจุบัน ส�านักงานคุ้มครอง                            สองทิศทางแล้วเกิดลืมใส่ล็อคไว้ การตกจาก  จะน�าไปสู่การขาดอากาศ และเกิดภาวะ
               ผู้บริโภคก�าหนดให้เรียกว่า  รถพยุงตัว                      ที่สูงจะน�าไปสู่การบาดเจ็บกระดูกต้นคอ   สมองตาย ยากเกินกว่าการแพทย์จะช่วย
               ไม่ให้ใช้ค�าว่า รถหัดเดิน และให้ก�ากับ บาดเจ็บศีรษะและเลือดออกในสมองท�าให้  แก้ไขได้
               ฉลากค�าเตือนบนผลิตภัณฑ์ ให้ผู้ดูแลเด็ก                                                              เสียชีวิตได้   การป้องกันที่ถูกต้องคือ “งดใช้รถ(ไม่)
               รู้ว่าอาจมีอันตราย  ต้องอยู่ใกล้ชิดเด็ก                             การบาดเจ็บอีกชนิดหนึ่งที่รุนแรง คือ   หัดเดินชนิดมีลูกล้อแบบนี้” เนื่องจาก
                                                                                      หลักฐานการวิจัยที่ผ่านมา
                                                                                      ทั้งหมดเชื่อได้ว่ารถหัดเดินจัด
                                                                                      เป็นผลิตภัณฑ์ที่ “มีประโยชน์
                                                                                      น้อย ไม่ช่วยการเดิน แต่มี
                                                                                      อันตรายมาก” ไม่คุ้มค่าใน
                                                                                      การใช้ แต่ควรเลือกใช้ “รถ
                                                                                      พยุงตัว ที่ไม่มีลูกล้อ” ซึ่ง
                                                                                      เป็นผลิตภัณฑ์ที่รูปร่างหน้าตา
                                                                                      คล้ายกัน แต่ไม่มีลูกล้อ
                                                                                        ท�าไมกลไกการตลาด
                                                                                      การควบคุมมาตรฐานของใช้
                                                                                      เด็กทารก  การคุ้มครองผู้
                                                                                      บริโภคเด็กทารกจึงยังปล่อย
                                                                                      ให้ผลิตภัณฑ์ออกแบบมา
                                                                                      ไร้ประโยชน์แต่มีอันตรายยังคง
                                                                                      มีการซื้อขายกันตามความไม่รู้
                                                                                      ของผู้บริโภคได้





                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      21
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26