Page 25 - MU_6June62
P. 25

เพื่อสุขภาพ
                                                                                             ผศ.พญ.พลอยทราย รัตนเขมากร
                                                                                          หน่วยโรคผิวหนัง ภาควิชาอายุรศาสตร์
                                                                                          คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
                                                                                                   มหาวิทยาลัยมหิดล
                                           โรคแพ้เหงื่อตัวเอง





                  โรคแพ้เหงื่อตัวเอง  เป็นอาการที่
               ผู้ป่วยโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังเรียกตัวเอง
               เนื่องจากมักมีอาการคันที่ผิวหนังหรือ
               มีผดผื่นแดงนูนเกิดขึ้นเมื่อมีเหงื่อออก
               อาการเหล่านี้อาจก่อให้เกิดปัญหา และ
               อุปสรรคในการด�าเนินกิจวัตรประจ�าวัน
               เช่น การออกก�าลังกาย การท�างานกลาง
               แจ้งในขณะที่มีอากาศร้อน
                  สาเหตุของโรคแพ้เหงื่อตัวเองหรือ
               โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังนั้น ยังไม่ทราบ
               แน่ชัด แต่เชื่อว่ามีหลายปัจจัยร่วมกัน
               เช่น พันธุกรรมเนื่องจากพบในครอบครัว
               เดียวกันและมักพบอาการแพ้ในระบบ
               อื่นๆ เช่น ภูมิแพ้ที่จมูก หอบหืดร่วมด้วย
               เป็นต้น นอกจากนี้ มักพบปัจจัยกระตุ้น
               ที่ก่อให้เกิดผิวแห้ง ระคายเคือง จากการ
               ใช้สบู่ที่แรง หรือใช้ปริมาณมากเกินไป
               การอาบน�้าอุ่นจัด อาบน�้าบ่อยเกินไป

               สามารถท�าให้โรคก�าเริบได้  ผู้ป่ วย
               โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังควรมีความรู้
               ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวโรค สังเกต
               อาการ หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้น และ
               ทราบวิธีการดูแลตนเอง เช่น เมื่อมี
               เหงื่อออกควรใช้ผ้าชุบน�้าธรรมดา
               เช็ดเบาๆ เพื่อเอาเหงื่อออกจากผิว เสื้อผ้าเนื้อหยาบที่อาจก่อให้เกิด ฤทธิ์อ่อนที่สุดที่สามารถควบคุมโรคได้
               หรืออาบน�้า ถ้ามีเหงื่อออกทั่วตัว                                     อาการระคายเคืองได้ เช่น ผ้าขนสัตว์                                                        แต่หากมีผื่นนูนแดงชนิดลมพิษ
               ควรเลือกใช้สบู่อ่อนๆ  และหลีก เป็ นต้น ผ้าที่เหมาะสม คือ ผ้าฝ้าย  ควรใช้ ยาต้ านฮีสตามีนชนิด
               เลี่ยงสบู่ที่เป็ นด่าง หลีกเลี่ยงการ หรือใส่เสื้อผ้าโปร่งบางที่ระบายอากาศ รับประทาน (anti-histamine) หรือ
               อาบน�้าอุ่นจัด และแนะน�าให้ใช้น�้าที่                                                                                            ได้ดี หลีกเลี่ยงการเกาถู บริเวณผื่น ยาแก้แพ้ร่วมด้วย ผลข้างเคียงหรือ
               อุณหภูมิห้อง  หลีกเลี่ยงสบู่  หรือ หรือการสัมผัสต่อสารที่ระคายเคือง  อันตรายจากการใช้ยาทาในกลุ่ม
               น�้ายาท�าความสะอาดที่มีส่วนผสม หรือ แพ้                       สเตียรอยด์ที่แรงและนานเกินไป ได้แก่
               ของสารฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (anti-septic)                                                                     แนวทางการรักษา ได้แก่ การทา ผิวหนังบางลง แตกลาย มีขนขึ้นบริเวณ
               เพราะอาจก่อให้เกิดการระคายเคือง ยาสเตียรอยด์ที่มีประสิทธิภาพ                     ที่ทายา เป็นต้น
               ต่อผิวหนังได้ ควรทาโลชั่นบ�ารุงผิวที่ ในการรักษาอาการก�าเริบของ                                                                                                                                           กรณีที่เป็นรุนแรง ควรส่งต่อให้แพทย์
               ให้ความชุ่มชื่นกับผิวหนังภายใน ๕ นาที                                                                ผดผื่นโดย แนะน�าให้ผู้ป่ วยทายา                                ผู้เชี่ยวชาญเพื่อสืบค้นหาปัจจัยกระตุ้นอื่นๆ
               หลังจากการอาบน�้าเสร็จ ภายหลัง สเตียรอยด์ ที่ มีฤทธิ์ อ่ อนหรือ                                                  ที่อาจมีการประเมินความรุนแรงของโรค
               การเช็ดตัวหมาดๆ  เพื่อให้โลชั่น ปานกลางวันละ ๒ ครั้ง เมื่อควบคุม และหาทางรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การใช้ยา
               ซึมลงสู่ผิวได้ดี  หลีกเลี่ยงการอยู่ อาการได้ควรลดการใช้ยาลงหรือ  กดภูมิคุ้มกัน  การฉายแสงอัลตร้ า
               ในบริเวณที่มีอากาศร้อนจัดเป็ น หยุดยาอาจใช้ยาทาเป็ นช่วงๆ                        ไวโอเลต เป็นต้น

               ระยะเวลานาน  หลีกเลี่ยงการใส่ และควรใช้ยาทาสเตียรอยด์ที่มี





                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      25
   20   21   22   23   24   25   26   27   28