Page 20 - MU_6June62
P. 20
Special Article
“เตรียมตัวสูงวัย ต้องมีเงินสักเท่าไร...?”
สุทธิรัตน์ สวัสดิภาพ
สังคมไทยในปัจจุบันก�าลังอยู่ในภาวะ จากตัวเลขเหล่านี้ ถ้าท่านคิดว่าใน
สังคมผู้สูงอายุที่มีสัดส่วนโครงสร้ าง ยามสูงวัยที่อายุ ๖๐ ปีขึ้นไปท่านน่าจะยัง
ประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง พอท�างานไหวเพื่อยังคงมีรายได้บางส่วน
ราว ๑๐ - ๒๐ ปี ข้างหน้า นี้สังคมไทยก็จะ จากการท�างานและมีลูกหลานหรือญาติที่
เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ถึงเวลา จะคอยเกื้อกูลดูแลได้ อย่างน้อยเพื่อที่จะ
นั้นจ�านวนประชากรวัยสูงอายุจะเพิ่มขึ้น สามารถด�ารงชีพได้ในระดับค่าเฉลี่ยของ
อีกอย่างมาก เมื่อการพัฒนาเกิดขึ้นอย่าง คนไทย ท่านก็ควรต้องมีสินทรัพย์หรือ
รวดเร็วเช่นนี้ ประชากรที่ก�าลังเข้าสู่วัยสูง เงินออมที่สามารถสร้างรายได้ หรือผล
อายุ และประชากรที่อยู่ในวัยผู้สูง อายุ ตอบแทนให้ได้อย่างน้อย ๕๒,๐๐๐ บาท
ต้องเร่งตระหนักโดยให้ความส�าคัญกับ ต่อปี (เป็นระยะเวลา ๒๐ ปี)
การเตรียมความพร้อม และรับมือกับการ ถ้าหากมีค�าถามว่า... ต้องเตรียม
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้งด้านร่างกายและ สินทรัพย์หรือเงินออมนั้นสักเท่าไร ตรงนี้ ขึ้น
จิตใจ เมื่อผู้สูงอายุในสังคมมีความรู้ ความ อยู่กับรูปแบบการออมหรือการลงทุนและผล
สามารถ และมีศักยภาพ ความพร้อมที่จะ ตอบแทนที่ท่านคาดว่าจะได้รับ หากท่านไม่
ช่วยกันขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมก็ คิดมาก ฝากเงินแบบเผื่อเรียกซึ่งให้ดอกเบี้ย
จะสามารถกระท�าได้อย่างมีประสิทธิภาพ เฉลี่ยประมาณร้อยละ ๐.๕ ต่อปี จะให้ได้เงิน และเตรียมตัวสูงอายุ โดยเฉพาะทาง
มากขึ้น หรือผลตอบแทนที่ประมาณ ๕๒,๐๐๐ บาท ด้านเศรษฐกิจ หรือพูดง่ายๆ คือ เตรียม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล ต่อปี ท่านก็คงต้องฝากสัก ๑๐.๔ ล้านบาท เก็บออม และรู้จักลงทุนให้เงินออมและ
แจ่มจันทร์ นักวิจัยจากสถาบันวิจัย แต่ถ้าท่านติดอาวุธมีความรู้ด้านการลงทุน สินทรัพย์นั้นงอกเงยเพื่อเป็นแหล่งราย
ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล สักเล็กน้อย เพื่อให้ได้ผลตอบแทนจากเงิน ได้ในช่วงสูงวัย รักษาสุขภาพให้ดีเพื่อ
ได้เขียนบทความ เรื่อง “เตรียมตัวสูง เก็บที่มีสักร้อยละ ๒ ต่อปี สินทรัพย์หรือเงิน ให้ท�างานได้นานขึ้น เป็นเรื่องส�าคัญที่
วัย ต้องมีเงินสักเท่าไร...?” จากผลการ เก็บ ๒.๖ ล้านบาทก็น่าจะพอ (หรือถ้าท่าน ทุกคนที่ยังไม่สูงวัย ต้องตระหนักและ
ศึกษาซึ่งประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดท�าบัญชี คิดว่าจะมีชีวิตอยู่ต่ออีกเพียง ๒๐ ปีแน่ๆ วางแผน
กระแสการโอนประชาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ และไม่ทิ้งมรดกไว้ให้ใคร ๕๒,๐๐๐ คูณ ๒๐
ภายใต้ชุดโครงการ “นโยบายเพื่อความ ปี = ๑.๔ ล้านบาท ก็เพียงพอ) แผ่นภูมิวงกลม เรื่อง
มั่นคงทางประชากรของประเทศไทย” แต่เดี๋ยว...อย่างไรก็อย่าลืมว่า ถ้าท่าน แหล่งที่มาของการบริโภคเฉลี่ยต่อปี
ของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม คิดว่าน่าจะท�างานต่อไปไม่ไหวหลังอายุ ของคนไทยในช่วงอายุ ๖๐ - ๗๙ ปี (รวม
มหาวิทยาลัยมหิดล โดยให้ข้อมูลว่าที่อายุ ๖๐ ปี หรือ ถ้าท่านเป็นลูกคนเดียวของ ๒.๔๕ ล้านบาท หรือเฉลี่ย ๑๒๒,๓๒๑
๖๐ ปี หากตีคร่าวๆ ว่า คนไทยสามารถมี ครอบครัว เป็นโสด หรือ แต่งงานแต่ไม่มีลูก บาทต่อปี)
ชีวิตที่ยืนยาวต่อไปได้อีกประมาณ ๒๐ ปี หรือหลาน ที่จะมาคอยช่วยเหลือดูแลในยาม
พบว่า ในตลอดช่วงเวลาชีวิตดังกล่าว โดย สูงวัย ท่านก็คงต้องมีเก็บเงินหรือลงทุนให้ได้
เฉลี่ยผู้สูงอายุไทยมีค่าใช้จ่ายในการบริโภค ผลตอบแทนสูงกว่านี้ หรือคิดคร่าวๆ ก็คือ ตก
เพื่อครองชีพ รวมอยู่ที่ประมาณ ๒.๔๕ เฉลี่ยประมาณปีละ ๕๒,๐๐๐ + ๓๓,๐๐๐
ล้านบาท หรือตกประมาณปีละกว่า ๑.๒ + ๑๗,๐๐๐ = ๑๐๒,๐๐๐ บาท หรือตีเสีย
แสนบาท (ยังไม่พิจารณาอัตราเงินเฟ้อ) ใน ว่า ต้องเตรียมเก็บเงินไว้เพิ่มขึ้นอีกสักเท่าตัว
จ�านวนเงินค่าใช้จ่ายต่อปีนี้ พบว่า ประมาณ จากที่เราคุยกันไว้ที่ย่อหน้าที่แล้ว
๓๓,๐๐๐ บาท (ร้อยละ ๒๗) มาจากราย ท้ายสุดผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิม
ได้จากการท�างาน และประมาณ ๒๐,๐๐๐ พล ได้เน้นย�้าว่าข้อมูลและข้อค้นพบ
บาท (ร้อยละ ๑๗) ได้รับการสนับสนุนจาก เชิงประจักษ์นี้ สะท้อนให้สังคมไทยเห็น
รัฐบาลในลักษณะการโอนทางเศรษฐกิจ ในบริบทที่คนไทยแต่งงานมีลูกกันน้อย
ผ่านบริการและสวัสดิการสาธารณะ รวมถึง ลง ขณะที่ความครอบคลุมของระบบ
เงินช่วยเหลือต่างๆ เช่น เบี้ยยังชีพ นอกจาก บ�าเหน็จบ�านาญและสิทธิประโยชน์
นี้ประมาณ ๕๒,๐๐๐ บาท (ร้อยละ ๔๑) รายได้ชราภาพยังมีค่อนข้างน้อย (แม้ ที่มา: โครงการวิจัย “การโอนทาง
มาจากรายได้ที่เกิดจากสินทรัพย์หรือเงิน จะมีเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ แต่ในอนาคต เศรษฐกิจข้ามรุ่นประชากรไทย พ.ศ.
ออมของตัวเอง และอีกประมาณ ๑๗,๐๐๐ ที่ผู้สูงอายุไทยมีมากขึ้นต่อเนื่อง ภาค ๒๕๖๐” ภายใต้ชุดโครงการ “นโยบาย
บาท (ร้อยละ ๑๔) มาจากลูกหลานหรือญาติ รัฐเองก็มีขีดจ�ากัดในการสนับสนุนจาก เพื่อความมั่นคงทางประชากรของ
ในครอบครัวที่โอนให้หรือสนับสนุนช่วย ภาระทางการคลังที่สูงขึ้น) เราคงคาด ประเทศไทย” สถาบันวิจัยประชากรและ
เหลือในการเลี้ยงดู ทั้งในลักษณะที่เป็นตัว หวังการช่วยเหลือจากครอบครัว หรือ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
เงินและไม่ใช่ตัวเงิน (ภาพประกอบ) จากภาครัฐได้น้อยลง การพึ่งพาตนเอง
20 June 2019 M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership