Page 17 - MU_6June62
P. 17

Research Excellence
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม



                                 ม.มหิดล โดย กองบริหารงานวิจัย


                    จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการติดอาวุธให้นักวิจัยรุ่นใหม่

                                 ผ่าน Multi Mentoring System” รุ่นที่ ๒

















                  เมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน  – ๑ พฤษภาคม
               ๒๕๖๒ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย กองบริหาร
               งานวิจัย จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการ
               ติดอาวุธให้นักวิจัยรุ่นใหม่ผ่าน Multi
               Mentoring System” รุ่นที่ ๒ โดยได้รับ
               เกียรติจาก ศาสตราจารย์ นายแพทย์
               บรรจง  มไหสวริยะ  รักษาการแทน
               อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นประธาน
               ในพิธีเปิด และ ศาสตราจารย์ นายแพทย์
               วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดี
               ฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล  เข้มแข็งประสบความส�าเร็จในอาชีพของ       การอบรมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการ
               บรรยายน�า เรื่อง “บันไดทางวิชาชีพ” ณ  การเป็นนักวิจัยอีกด้วย”  เขียนข้อเสนอโครงการอย่างไรให้ได้
               ห้องประชุมอาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์   “World Class University มีปัจจัย รับทุน : วิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และ
               ชั้น ๑ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม  หลัก ๓ ประการ คือ ๑. ทุนมนุษย์ (MAN)                  น�าผลงานไปใช้ประโยชน์” Section 1 :
               มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา        เป็นปัจจัยที่ส�าคัญมาก โดยเฉพาะอย่าง ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
                  ศาสตราจารย์  นายแพทย์บรรจง  ยิ่งในเรื่องทักษะ และประสบการณ์ของ Section 2 : ด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
               มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดี บุคลากร ๒. ทุนทรัพยากร (MONEY)               และศิลปกรรม การเสวนาพิเศษ “ระบบนักวิจัย
               มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า “โครงการ                    เป็นปัจจัยที่เกี่ยวกับเรื่องเงิน และ infra- ที่ปรึกษาส�าหรับนักวิจัยรุ่ นใหม่”
               ติดอาวุธให้นักวิจัยรุ่นใหม่ ผ่าน Multi  structure ซึ่งเราต้องใช้ทุนทรัพยากร                    เสวนา “ท�าอย่างไรงานวิจัย “ไม่” ขึ้นหิ้ง
               Mentoring System เกิดจากความร่วมมือ ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และ ๓.                                                                            : การพัฒนานวัตกรรมและการน�าไปใช้
               ของมหาวิทยาลัยมหิดล  ส�านักงาน การบริหารจัดการ (MANAGEMENT)  เชิงพาณิชย์ สังคมและชุมชน” บรรยาย
               กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ  จ�าเป็นต้องมีการปลดล็อคกฎเกณฑ์ต่างๆ                                                                             “จริยธรรมการวิจัยในยุคประเทศไทย
               ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา  ที่ไม่จ�าเป็นเพื่อให้เกิดความคล่องตัว                         4.0”  บรรยาย “เทคนิคการน�าเสนอ
               (สกอ.) เพื่อสร้างความมั่นใจว่านักวิจัย เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศอื่นๆ                                                                โครงการวิจัยและผลงานวิจัยภาษา
               รุ่นใหม่ที่เข้าร่วมโครงการจะสามารถ นับว่าเรายังมีจ�านวนบุคลากรที่ท�าวิจัย                                                                                                       อังกฤษให้ได้รับการตอบรับในเชิงบวก”
               สร้ างโจทย์ วิจัยที่เป็ นประโยชน์                             อยู่ไม่มาก หากแยกกันท�างานจะไม่เกิด การอบรมเชิงปฏิบัติการ  “เทคนิคการ
               ต่อการพัฒนาประเทศ ผลิตผลงานวิจัย ผลดีเท่ากับการร่วมกันใช้ทรัพยากร                                            เขียนบทความวิจัย/บทความวิชาการ”
               ที่มีมาตรฐานสูง ได้รับการตีพิมพ์ในระดับ ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า                              Section 1 : ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
               นานาชาติ ตลอดจนกระตุ้นให้นักวิจัยได้มอง ซึ่งจะท�าให้เราสามารถแข่งขันกับประเทศ นวัตกรรม Section 2 : ด้านมนุษยศาสตร์
               เห็นแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมและ อื่นได้ตามสมควร”              สังคมศาสตร์และศิลปกรรม เสวนา “นักวิจัย
               องค์ความรู้เพื่อน�าไปสู่การแก้ไขปัญหาของ  การอบรมเชิงปฏิบัติการ  “โครงการ พี่เลี้ยง : เข็มทิศน�าทางชีวิตนักวิจัย”
               ประเทศได้ นอกจากนี้ยังได้เล็งเห็นถึงปัญหา ติดอาวุธให้นักวิจัยรุ่นใหม่ผ่าน Multi  บรรยาย “Research to Innovation” บรรยาย
               และอุปสรรคอันจะส่งผลให้นักวิจัยรุ่นใหม่ Mentoring System” รุ่นที่ ๒ จัดขึ้นโดย “การบริหารจัดการทุนวิจัยอย่างมืออาชีพ”
               ใช้ระยะเวลาในการด�าเนินโครงการวิจัย มีหัวข้อที่น่าสนใจ อาทิ การบรรยายใน “การน�าเสนอรายงานความก้าวหน้า
               นานกว่าระยะเวลาที่ก�าหนดตามสัญญา                                                                           หัวข้อ “เส้นทางความก้าวหน้า (career  เพื่อติดตามความก้าวหน้าของนักวิจัย
               จึงจัดให้มีโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นระบบการ                       path) ของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย”                                       รุ่นใหม่” บรรยาย “การขอและสืบค้น
               ช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพของนักวิจัย การเสวนา “ทิศทางการสร้างงานวิจัย ทรัพย์สินทางปัญญา  และกฎหมาย
               รุ่นใหม่ให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของ แบบบูรณาการให้ตอบโจทย์ประเทศ”                                                                     ที่เกี่ยวข้อง” และ บรรยาย “นโยบาย
               ทุนวิจัยได้ รวมถึงจะเป็นกลไกในการพัฒนา การบรรยาย “การท�าวิจัยกลุ่มผู้ใช้งาน  การให้ทุนของแหล่งทุนต่างๆ  ตาม
               ศักยภาพของนักวิจัยรุ่นใหม่ให้มีความ                                    (Research  User)  อย่างมีชั้นเชิง”                            ยุทธศาสตร์การวิจัยของประเทศ”
                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22