Page 19 - MU_6June62
P. 19

Harmony in Diversity





                ศูนย์สันติวิธีชายแดนใต้ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

                                                                                    รายงานโดย นายฆอซาลี อาแว (เจ้าหน้าที่วิจัย)
                                                                              และ นางสาวชาริต้า ประสิทธิหิมะ (เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป)

                  ศูนย์สันติวิธีชายแดนใต้ สถาบันสิทธิ                        การสื่อสารกับสังคม การอยู่ร่วมกัน การพัฒนา
               มนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล                         คุณภาพชีวิต การปกครอง ความยุติธรรม)
               ได้ด�าเนินโครงการประจ�าปีงบประมาณ                             ประการที่สอง มีการแบ่งปันข้อมูลตาม
               ๒๕๖๒ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้                             ความเชี่ยวชาญ แต่ร่วมกันขับเคลื่อน
               จ�านวน ๒ โครงการ คือ ๑.โครงการสาน                             เช่น ช่วยกันรวบรวมข้อมูล ช่วยกันเชื่อม
               เสวนาเพื่อแลกเปลี่ยนปัญหาและหา                                ประสานไปยังผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อสร้าง
               ทางออกระหว่างนักการเมืองจังหวัดชายแดนใต้                                                        ๒ มีนาคม ๒๕๖๒ และ ๑๗ เมษายน   การเปลี่ยนแปลงในประเด็นนั้นๆ ประการ
               มีวัตถุประสงค์เพื่อน�าเสนอผลข้อสรุปและข้อ  ๒๕๖๒ และขั้นตอนที่ ๓ ประชุมเพื่อน�าเสนอ                                                                          สุดท้าย  มุ่งที่ผลสัมฤทธิ์ของงานใน
               เสนอแนะจากเวทีการสานเสวนาของนักการ  ข้อเสนอและแลกเปลี่ยน-หารือกับนักการ  ๘  ประเด็นที่เป็นข้อเสนอของภาค
               เมืองในพื้นที่ที่ผ่านมาและน�าเสนอผลต่อ  เมืองเพื่อผลักดันประเด็นร่วมกัน ซึ่งได้จัด  ประชาสังคม คือ ไม่ใช่บอกว่า งานนี้ส�าเร็จ
               สาธารณะระดับพื้นที่จังหวัดชายแดนภาค  ประชุมแล้ว ๑ ครั้ง เมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม   เพราะใคร แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เรา
               ใต้ และ ๒.โครงการภาคประชาสังคมกับ  ๒๕๖๒ และจัดอีกครั้งในวันที่ ๓ พฤษภาคม   ได้ร่วมกันสร้างขึ้นมา
               กระบวนการสร้างสันติภาพชายแดนใต้ ร่วมกับ   ๒๕๖๒ นี้
               สภาประชาสังคมชายแดนใต้ มีวัตถุประสงค์  ส่วนหนึ่งของการประชุมวันเมื่อวันที่
               เพื่อการทบทวนข้อเสนอของแต่ละกลุ่ม- ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒ ที่จังหวัดปัตตานี
               เครือข่าย หาจุดร่วม และพิจารณาว่ามีข้อเสนอ มีตัวแทนภาคประชาสังคมจ�านวน ๒๓
               ที่สอดคล้องกับพลวัตทางสังคม โดยการ องค์กรเครือข่าย (อาทิ เครือข่ายผู้น�าศาสนา
               สร้างระบบติดตามและกลไกสนับสนุนให้                                 พุทธและอิสลาม ผู้หญิงเพื่อสันติภาพ เด็ก
               ข้อเสนอบรรลุผล และเพื่อให้เกิดการผลัก และเยาวชน ผู้ได้รับผลกระทบ นักปกป้อง
               ดันให้ข้อเสนอของภาคประชาสังคมไปสู่ สิทธิมนุษยชน รัฐวิสาหกิจชุมชน และเครือ  ต่อจากนั้น นายฆอซาลี  อาแว เจ้า
               นโยบายและการปฏิบัติต่อไป       ข่ายด้านงานพัฒนาและสิ่งแวดล้อม) เพื่อ  หน้าที่วิจัยประจ�าศูนย์สันติวิธีชายแดนใต้
                  สถาบันฯ ได้ด�าเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง หารือการสร้างกลไกการติดตามข้อเสนอ     ได้ท�าหน้าที่อ�านวยกระบวนการประชุมเพื่อ
               กับกลุ่มนักการเมืองและภาคประชาสังคม ไปสู่การจัดท�านโยบาย โดย รองศาสตราจารย์  ระดมความคิดจากตัวแทนภาคประชาสังคม
               ชายแดนใต้ท�าให้เกิดการเชื่อมประสานที่ ดร.โคทม อารียา ประธานมูลนิธิสันติภาพ ในวันนั้นร่วมกันออกแบบกลไกการสร้าง
               หนุนเสริมการท�างานร่วมกันในมิติการผลัก และวัฒนธรรม และอดีตที่ปรึกษาของ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ การตรวจ
               ดันเชิงนโยบายจึงก่อเกิดการด�าเนินกิจกรรม สถาบันฯ ได้น�าเสนอแนวทางสามประการ สอบ-ติดตามข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อให้
               สามขั้นตอน ขั้นแรกการจัดเวทีน�าเสนอ                                                                             ส�าหรับการท�างานของภาคประชาสังคม เกิดการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และภาค
               ผลข้อสรุปและข้อเสนอแนะการแก้ปัญหา ในพื้นที่ชายแดนใต้ไว้ ดังนี้ ประการ ประชาสังคมเองจะได้ไม่เป็นเพียงผู้เสนอ
               ชายแดนใต้ในเวทีการสานเสวนาระหว่าง แรก ภาคประชาสังคมควรท�างานตาม และวิพากษ์วิจารณ์ แต่เป็นผู้ที่ร่วมคิดและ
               นักการเมือง จ�านวน ๒ ครั้ง เมื่อวันที่ ๒๔  ความสมัครใจและความสนใจ  แต่มี                                                                                    ร่วมท�างานกับระดับนโยบายทั้งในพื้นที่และ
               มกราคม ๒๕๖๒ และ ๑๙ กุมภาพันธ์  เป้าหมายร่วมกันคือ สร้างการเปลี่ยนแปลง ในระดับประเทศ เพื่อน�าไปสู่การแก้ปัญหา
               ๒๕๖๒ ขั้นตอนที่ ๒ จัดประชุมรวบรวม ในทางที่ดีใน ๘ ประเด็นที่เป็นข้อเสนอร่วม ความขัดแย้ง  และการพัฒนา  ทั้งด้านเศรษฐกิจ
               ข้อเสนอเพิ่มเติมจากองค์กรเครือข่ายภาค กันของภาคประชาสังคม (คือความปลอดภัย  สังคม และการเมืองในพื้นที่ที่ทุกกลุ่ม
               ประชาสังคม จ�านวน ๒ ครั้ง เมื่อวันที่  กระบวนการสันติภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ  อัตลักษณ์มีส่วนร่วมอย่างแท้จริง


                            วิศวะมหิดล จับมือ ๖ หน่วยงาน                     การวัดสมรรถนะทางด้านดิจิทัล ซึ่งเป็นการ
                เร่งพัฒนาพลเมืองดิจิทัล (Thailand Digital Citizen)           ลงนามร่วมกันระหว่าง ๖ หน่วยงาน ประกอบ
                        ให้ได้มาตรฐานเทียบเท่าระดับนานาชาติ                  ด้วย ๑) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
                                                                             มหิดล  ๒)  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
                                                                 ทิพย์วรรณ อุดทาค�า
                                                                             ราชมงคลพระนคร ๓) วิทยาลัยการจัดการ
                                                                             มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ๔) สมาคม
                                                                             วิศวกรรมชีวการแพทย์ไทย ๕) สมาคม
                                                                             อุตสาหกรรมดิจิทัลไทย และ ๖) ส�านักงาน
                                                                             คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
                  เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ผู้ช่วย เข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy for Digital   และสังคมแห่งชาติ  กระทรวงดิจิทัล
               ศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์  Citizenship MOU) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม   เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ณ ห้องประชุม
               คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย และพัฒนาความรู้ความเข้าใจดิจิทัลของ BB205 ชั้น ๒ โรงแรมเซ็นทรา บาย เซ็นทารา
               มหิดล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความ ประเทศไทย และส่งเสริมการด�าเนินการ ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์
               ร่วมมือการพัฒนาพลเมืองด้านการ ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ รวมถึง แจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ


                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      19
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24