Page 8 - MU_8Aug60
P. 8
{ Special Article
ผศ.ดร.ฤดี ปุงบางกะดี่ ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน�าแรงงานข้ามชาติ:
อนามัยการเจริญพันธุ์การอนามัยส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม ปีที่ ๒
ปัจจุบันแรงงานข้ามชาติที่เข้ามา ส่งผลให้เกิดปัญหาการเป็นโรค
ท�างานในประเทศไทยมีจ�านวนเพิ่มขึ้น ติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ การตั้งครรภ์
ทุกปี กระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความ ไม่พึงประสงค์ และการท�าแท้ง
ส�าคัญในการดูแลสุขภาพของแรงงาน เป็นต้น ในส่วนของอนามัยส่วนบุคคล
ข้ามชาติ ในการป้องกันและควบคุมโรค และสิ่งแวดล้อมยังคงเป็นปัญหาที่
ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อคนไทย โดยมี ส�าคัญ โดยเฉพาะการส่งเสริม สุขภาพ
นโยบายให้แรงงานและผู้ติดตามทุกคน และการป้องกันโรค สังเกตุได้จากการ
ที่ไม่ได้ท�างานในโรงงานตรวจสุขภาพ ที่แรงงานป่วยด้วยโรคติดต่อ อาทิเช่น
และซื้อหลักประกันสุขภาพเป็นรายปี วัณโรค อหิวาตกโรค รวมทั้งและโรค
นอกจากนี้ ยังมีนโยบายให้ทุกจังหวัด อุบัติซ�้าในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบ
สร้างอาสาสมัครสาธารณสุขในกลุ่ม โรคที่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
แรงงานข้ามชาติ ๓ ชาติ คือ พม่า ลาว ของแรงงาน เช่น พฤติกรรมการสูบบุหรี่
และกัมพูชาเพื่อเป็นการลดช่องว่าง ดื่มเหล้าและใช้สารเสพติด เป็นต้น รวม
ในเรื่องภาษาการสื่อสาร รวมทั้งเป็น ทั้งยังพบการเกิดปัญหาสุขภาพจิตใน
กลยุทธ์ในการพัฒนาระบบการดูแล กลุ่มแรงงานข้ามชาติ คือ ความเครียด ปัญหาที่ส�าคัญคือข้อจ�ากัดเรื่องการ
สุขภาพแรงงานข้ามชาติ อีกทั้งยัง จากการย้ายถิ่น โดยเฉพาะปัญหาด้าน สื่อสาร และจ�านวน อสต.ที่จะช่วยใน
เป็นการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการ เศรษฐกิจและสัมพันธภาพกับบุคคล การเป็นล่ามสุขภาพมีจ�านวนไม่เพียง
สาธารณสุขของแรงงานข้ามชาติอีก รอบข้าง พอ ดังนั้นภาควิชาฯ จึงได้จัดท�า
ด้วย จังหวัดสมุทรสาคร มีจ�านวน ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์- โครงการพัฒนาศักยภาพแกนน�า
แรงงานข้ามชาติเกือบ ๔ แสนคน มาก นรีเวชวิทยา และภาควิชาการ แรงงานข้ามชาติเรื่องอนามัยการเจริญ
เป็นอันดับ ๒ ในประเทศ และยังมีแนว พยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ คณะ พันธุ์ การอนามัยส่วนบุคคลและสิ่ง
โน้มที่จะเพิ่มขึ้น สาธารณสุขจังหวัดจึง พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย แวดล้อม แก่กลุ่มแกนน�าแรงงานข้าม
มีนโยบายในการสร้างอาสาสมัคร มหิดล เป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีบทบาท ชาติซึ่งเป็นนักเรียนที่ก�าลังศึกษา
สาธารณสุขแรงงานต่างด้าว (อสต.) และหน้าที่ในการพัฒนาระบบการดูแล หลักสูตรการศึกษานอกระบบและการ
เพื่อเป็นคนกลางในการให้ความรู้แก่ และสร้างเสริมสุขอนามัยแก่ประชาชน ศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ที่ศูนย์การ
แรงงานข้ามชาติ จากการทบทวนเอก นอกจากนักศึกษาพยาบาล เรียนรู้ไทยมอญวัดป้อมวิเชียรโชติกา
สารพบว่า แรงงานข้ามชาติส่วน มหาวิทยาลัยมหิดลที่ฝึกปฏิบัติงานที่ ราม โดยปีนี้ด�าเนินโครงการต่อเนื่อง
ใหญ่ยังขาดความรู้เรื่องสุขอนามัย โรงพยาบาลสมุทร สาครและโรง เป็นปีที่ ๒ ซึ่งกิจกรรมของโครงการ
ที่ดี ตั้งแต่เรื่องอนามัยการเจริญ พยาบาลกระทุ่มแบน ซึ่งมีแรงงานข้าม ประกอบไปด้วย
พันธุ์ในกลุ่มแรงงานที่เป็นเยาวชน ชาติมารับบริการเป็นจ�านวนมาก พบ
๑) การอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพแกนน�าแรงงานข้ามชาติเกี่ยวกับทักษะการเป็นแกนน�า สิทธิสุขภาพของแรงงานข้ามชาติ
ให้ความรู้เกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์เช่น การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การวางแผนครอบครัว การมีประจ�าเดือน การ
ตั้งครรภ์ เป็นต้น การอนามัยส่วนบุคคลและอนามัยสิ่งแวดล้อม สุขภาพจิตและสารเสพติด
8
Volumn 08 • August 2017