Page 13 - MU_6June63
P. 13

Research Excellence




















               ดอกของดอกดินปริศนานั้นมีขนาด ศึกษาก่อนหน้า จึงสอบถามราย พบว่าดอกดินชนิดนี้ขึ้นกระจาย
               เล็กกว่าอย่างเห็นได้ชัด และดอกจะ ละเอียดถึงแหล่งที่พบและประสาน  เป็นกลุ่มใกล้บริเวณน�้าตกและ
               เปลี่ยนสีเป็นสีคล้ายสนิมเมื่อเหี่ยว ขอลงพื้นที่ส�ารวจในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ล�าธาร ส่วนพื้นที่ป่ามีลักษณะเป็น
               เฉา แต่เนื่องด้วยดอกของดอกดิน     การลงพื้นที่ส�ารวจภาคสนาม ป่ าเบญจพรรณผลัดใบ  ในวันที่
               ปริศนาจะเหี่ยวอย่างรวดเร็วและ นั้นเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างมาก ๒ ของการส�ารวจทีมงานเตรียม
               จ�านวนตัวอย่างดอกที่ได้มานั้นไม่ ส�าหรับพืชกลุ่มนี้ เพราะถึงแม้จะ อุปกรณ์ชุดใหญ่ส�าหรับเก็บบันทึก
               เพียงพอ ท�าให้ไม่สามารถศึกษา ทราบข้อมูลเบื้องต้นจากปีก่อน บรรยากาศการบานของดอก โดย
               และถ่ายภาพโครงสร้างดอกอย่าง หน้าแล้วว่าดอกดินปริศนาชนิด เริ่มออกเดินทางตั้งแต่ ๐๕.๐๐ น.
               ละเอียด ในส่วนของใบถูกน�ามา นี้จะออกดอกในช่วงปลายเดือน จากที่พัก เดินเท้าขึ้นเขาเข้าป่ า
               ไปสกัด DNA เก็บไว้ส�าหรับศึกษา พฤษภาคม แต่ก็ไม่สามารถระบุ ข้ามล�าธารจนถึงแหล่งที่อยู่ของ
               ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของ วันที่ได้อย่างแน่ชัด เนื่องจากการ ดอกดินปริศนา และสามารถเก็บ
               ดอกดินสกุลเปราะในอนาคต และ ออกดอกของดอกดินสกุลเปราะ บันทึกภาพนิ่งและวิดีโอการบาน
               ต้องรอปีถัดมาเพื่อขอตัวอย่าง ขึ้นอยู่กับปริมาณฝนและความชื้น ของดอกดินชนิดนี้ได้ทันเวลาพอดี
               ดอกดินปริศนาเพิ่มเติม ปี พ.ศ.  ในอากาศและดินในแต่ละพื้นที่ ซึ่ง ในช่วง ๐๖.๐๐ – ๐๗.๐๐ น. โดย
               ๒๕๖๐ หลังจากได้รับตัวอย่างพืช ถ้าเลือกเดินทางผิดช่วงวันเวลาถึง ดอกดินชนิดนี้จะเหี่ยวทันทีภายใน
               เป็นปีที่สองได้ศึกษาโครงสร้างดอก แม้จะถูกสถานที่ เราก็จะคลาดกับ เวลาเพียง ๑ ชั่วโมง ตั้งแต่ ๐๗.๐๐
               อย่างละเอียดมากขึ้นจนสามารถ ดอกของพืชที่ต้องการศึกษา จาก  น. หลังจากดอกบานสมบูรณ์เต็ม
               เขียนค�าบรรยายลักษณะได้ครบ “ดอกดิน” ก็จะเหลือเพียง “ดิน”  ที่ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวของ
               ถ้วนสมบูรณ์ รวมถึงได้น�าเอาส่วน นอกจากนี้ดอกของดอกดินปริศนา ดอกดินชนิดนี้ จนน�าไปสู่การตั้ง
               ของปลายรากและดอกอ่อนมา จะเหี่ยวอย่างรวดเร็วท�าให้เพิ่ม ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า “Kaempferia
               ศึกษาโครโมโซม  และน�าใบมา ระดับความยากต่อการส�ารวจเพิ่ม aurora Noppornch. & Jenjitt.”
               ศึกษาขนาดจีโนม (Genome size)  เข้าไปอีก ประกอบกับพื้นที่ป่าที่พบ และให้ชื่อไทยว่า “ดอกดินอรุณรุ่ง”
               พบว่ามีความต่างอย่างชัดเจนเมื่อ ดอกดินชนิดนี้อยู่ใกล้เขตชายแดน หรือ “ดอกดินสีสนิม”
               เทียบกับดอกดินชนิดที่มีลักษณะ ประเทศพม่า จึงต้องวางแผนการ       ส่วน เปราะผาสุก (Kaempferia
               ทางสัณฐานวิทยาใกล้เคียงกัน     ส�ารวจอย่างรอบคอบ ซึ่งทีมงาน caespitosa) ซึ่งเป็นดอกดินสกุล
                  หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑  วางแผนการส�ารวจ ๒ วัน โดยใน เปราะ อีกชนิดหนึ่งที่ได้รับการ
               ได้รับการติดต่อจาก คุณธันย์ชนก                 วันแรกทีมส�ารวจเข้าไปถึงแหล่ง บรรยายลักษณะทางสัณฐานวิทยา
               สมหนู หรือ “คุณกวาง” ทีมงาน ที่อยู่ของดอกดินชนิดนี้เป็นเวลา และระบุเป็นพืชชนิดใหม่ของโลก
               สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนาง ประมาณ  ๑๓.๐๐  น.  ปรากฏ ชนิดล่าสุด โดยได้รับการติดต่อให้
               เจ้าสิริกิติ์ อ�าเภอแม่ริม จังหวัด ว่าพบแต่ดอกเหี่ยวซึ่งมีสีคล้าย ช่วยระบุชนิดจากคุณกวาง ซึ่ง ณ
               เชียงใหม่ ซึ่งเดิมท�างานร่วมกันอยู่ สนิม ไม่พบดอกบานสมบูรณ์แต่ ขณะนั้น คุณวรนุช ละอองศรี หรือ
               แล้ว ส่งภาพดอกดินชนิดหนึ่งมาให้ อย่างใด ซึ่งตรงตามข้อมูลที่ทราบ “คุณฝน” นักวิจัยประจ�าสวนพฤกษ
               ตรวจสอบและช่วยระบุชนิด ปรากฏ ก่อนหน้า จึงตัดสินใจที่จะส�ารวจ ศาสตร์ฯ เป็นหัวหน้าทีมลงพื้นที่
               ว่าภาพดอกดินที่เห็นตรงกับดอกดิน จ�านวนประชากรและลักษณะ ส�ารวจและเก็บตัวอย่างพรรณไม้
               ปริศนาจากอ�าเภอแม่สอด ที่เคย พื้นที่ที่อยู่อาศัยเพียงอย่างเดียว  จากแหล่งที่อยู่ของเปราะผาสุก


                                                                                            อ่านต่อหน้า ๑๖



                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๓      13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18