Page 17 - MU_6June63
P. 17

Research Excellence
                                                                                                  เกษรี วุฒิวงศ์สัมพันธ์


                  มหาวิทยาลัยมหิดล  แถลงข่าวการใช้หุ่นยนต์ทางการแพทย์รองรับ

                                 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ

                         และรับมอบ Hapybot หุ่นยนต์เคลื่อนที่อัจฉริยะผู้ช่วยแพทย์

                                    เดินเร็วเทียบเท่ามนุษย์ไม่ต้องมีคนควบคุม

                  เมื่อวันที่  ๒๙  พฤษภาคม  ๒๕๖๓  ควบคุมสถานการณ์ตลอด ๒๔ ชั่วโมง    มาทดลองการใช้งานจริงเพื่อลดการสิ้นเปลือง
               มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ส�านักงานพัฒนา เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมหุ่นยนต์มีส่วน  ของอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal
               วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และ ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ได้อย่างมาก         Protective: PPE) และความเสี่ยงการแพร่
               บริษัท เน็ตเบย์ จ�ากัด (มหาชน)  แถลงข่าว  จึงถูกน�ามาใช้ในโรงพยาบาลเพื่อท�างาน  ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ในบุคลากร
               “ความส�าคัญของเทคโนโลยีการใช้หุ่นยนต์                                                                  ร่วมกับมนุษย์ เพื่อช่วยลดการสัมผัสผู้ป่วย  ทางการแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วย
               ทางการแพทย์ และนโยบายของมหาวิทยาลัย ติดเชื้อ สามารถใช้ในการติดตามคนไข้บน  หุ่นยนต์ Hapybot มีความสามารถใน
               มหิดล ในการสนับสนุนการใช้ Robot  หอผู้ป่วย ใช้ในการดูแลและการพยาบาล   ๔ ด้าน ประกอบด้วย การขนส่ง (Transport)
               ในสถานการณ์ปัจจุบัน” ณ ห้องประชุม ใช้ขนส่งอาหาร อุปกรณ์ทางการแพทย์ และ  การน�าทาง (Guide) การแนะน�า-บรรยาย
               เฉลิมพระเกียรติ อาคารเฉลิมพระเกียรติ  เวชภัณฑ์ยา สิ่งเหล่านี้ คือ เหตุผลความ  (Cruise) และการสนทนาแบบเห็นหน้า
               คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล  ความส�าคัญและความจ�าเป็นเร่งด่วนของ  (Tele Conference) โดยสามารถเคลื่อนที่
               โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง
               มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดี
               มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นประธานการแถลง
               ข่าว พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช
               ธัชยพงษ์ ประธานคณะกรรมการวิชาการ
               และเทคนิคเพื่อรองรับสถานการณ์แพร่
               ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
               (COVID-19) ศาสตราจารย์ นายแพทย์
               ปิยะมิตร ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตร์
               โรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์
               นายแพทย์ วีระพงษ์ ภูมิรัตนประพิณ คณบดี
               คณะเวชศาสตร์เขตร้อน รองศาสตราจารย์
               นายแพทย์ธีระ กลลดาเรืองไกร ผู้อ�านวยการ การที่ต้องน�าหุ่นยนต์เข้ามาช่วยงานมากขึ้น   อิสระได้ด้วยตัวเอง ด้วยความเร็ว ๒.๕ – ๓ กิโลเมตร
               ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก และ นาย เพื่อลดความเสี่ยง และช่วยแบ่งเบาภารกิจ  ต่อชั่วโมง เพื่อประโยชน์ในการใช้ขนส่งยา และ
               พิชิต วิวัฒน์รุจิราพงษ์ ประธานเจ้าหน้าที่ ของบุคลากร          เวชภัณฑ์การแพทย์ รวมถึงสิ่งของอื่นๆ พร้อมช่อง
               บริหาร บริษัท เน็ตเบย์ จ�ากัด (มหาชน)                 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยมหิดล ได้มีการ                                                                                     เก็บแบบปิด เปิดและล็อคด้วยไฟฟ้า มีความจุ
               ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีรับมอบหุ่นยนต์ Hapybot  พัฒนาหุ่นยนต์หลายตัวโดยคณะวิศวกรรม                       ๑๗ ลิตร สามารถรองรับน�้าหนักบรรทุกได้
               หุ่นยนต์เคลื่อนที่อัจฉริยะผู้ช่วยแพทย์  ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล   ๑๐ – ๑๕ กิโลกรัม โดยตัวเครื่องมีหน้าจอ
               จ�านวน ๓ ตัว เพื่อน�าไปใช้งานจริงภายใน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี   ส�าหรับพยาบาลเพื่อสื่อสารกับผู้ป่ วย
               โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล                   คณะเวชศาสตร์เขตร้อน และคณะอื่นๆ   ซึ่งสามารถพูดคุยสนทนาแบบเห็นหน้าได้
               ๓ แห่ง คือ สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์                                                               ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผลการทดลองใช้พบว่ามี  โดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับระบบเน็ตเวิร์คของ
               คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี  ประสิทธิภาพสูง แต่เนื่องจาก มหาวิทยาลัย  โรงพยาบาล
               ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก  คณะ มีโรงพยาบาลในสังกัดหลายแห่ง การได้  ในด้านการใช้ระบบ AI เข้ามาช่วยสร้างแผน
               แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และโรงพยาบาล รับการสนับสนุนจากภาคเอกชน จึงถือ  การเดินทางได้อัตโนมัติ ก�าหนดพื้นที่ที่ต้องการ
               เวชศาสตร์เขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน  เป็นความร่วมมือช่วยเหลือการปฏิบัติงาน  หลีกเลี่ยงการเดินเมื่อมีอุปสรรคหรือสิ่งกีดขวาง
               มหาวิทยาลัยมหิดล               ของทีมบุคลากรทางการแพทย์อีกทางหนึ่ง                    ตลอดจนสามารถเปลี่ยนเส้นทางได้โดย
                  ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง  ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพที่ดีในการรักษา  อัตโนมัติ นอกจากนี้ ยังสามารถเชื่อมต่อ
               มไหสวริยะ  รักษาการแทนอธิการบดี  พยาบาล และ สร้างความปลอดภัยให้แก่  กับระบบลิฟต์สั่งเปิด-ปิดกับประตูอัตโนมัติได้
               มหาวิทยาลัยมหิดล  กล่าวว่ามหาวิทยาลัย บุคลากรทางการแพทย์ต่อไป  รวมทั้งมีระบบ access control ที่สามารถตั้ง
               มหิดล มียุทธศาสตร์ส�าคัญหลายประการ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์  นายแพทย์                     รหัสผ่านเพื่อป้องกันการใช้งานจากผู้ที่ไม่
               ที่จะช่วยขับเคลื่อนและร่วมพัฒนาประเทศ  วีระพงษ์ ภูมิรัตนประพิณ คณบดีคณะ  ได้รับอนุญาต และป้องกันการสูญหายของ
               พร้อมที่จะน�าองค์ความรู้ต่างๆ ช่วยเหลือ เวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล   ยา อีกทั้งสามารถตรวจสอบและรายงาน
               สนับสนุนเมื่อเกิดปัญหา โดยเฉพาะอย่าง กล่าวว่า โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน   วัน-เวลา ที่ รับ-ส่ง ยา และระยะทางจากจุดเริ่ม
               ยิ่งในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ ได้มีการน�าหุ่นยนต์ Hapybot ที่ผลิตโดย  ต้นถึงปลายทาง รวมถึงระบุผู้ส่ง-รับของได้
               เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือ Covid-19  บริษัท NETbay จ�ากัด (มหาชน) ที่ได้  ซึ่งต่อไปคาดว่าจะมีการพัฒนาหุ่นยนต์แบบ
               รวมทั้งการสร้างความร่วมมือกับ ทั้งภาครัฐ  รับการสนับสนุนจาก ส�านักงานพัฒนา  Telemedicine ที่มีกล้องความละเอียดสูง
               และเอกชนในการต่อยอดผลงานวิจัยต่างๆ  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ   ซึ่งใช้ช่วยแพทย์ในการตรวจวินิจฉัยผู้ป่วย
               เพื่อช่วยบรรเทาปัญหา ในขณะที่บุคลากร (สวทช.) ในการทดสอบระบบอิเล็กทรอนิกส์   สามารถดูผ่านหุ่นยนต์ได้โดยที่แพทย์กับ
               ทางการแพทย์มีงานล้นมือต้องปฏิบัติหน้าที่ ความปลอดภัย และมาตรฐานของหุ่นยนต์   ผู้ป่วยอยู่คนละที่

                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๓      17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22