Page 19 - MU_6June63
P. 19
Special Article
ญาดา เอื้อสมิทธ์
นักประชาสัมพันธ์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
เคล็ด (ไม่) ลับ เสริมทักษะการคิดเชิงบริหาร (EFs) ให้ลูกน้อย
ช่วงเวลาการแพร่ระบาดของวิกฤติ ความคิด (Shift/Cognitive Flexibility) ความรับผิดชอบ เพราะเมื่อเด็กมีทั้ง
COVID-19 หากมองอีกแง่มุมหนึ่งก็ มีไหวพริบ คิดนอกกรอบ เปลี่ยนความ งานบ้าน การบ้าน การเล่น เด็กจะต้อง
นับเป็นโอกาสดีไม่น้อยที่สมาชิกใน คิดได้ ไม่ยึดติดความคิดเดียว ๔) การ ฝึกแบ่งเวลาว่าจะท�าอะไรก่อนหลัง
ครอบครัวจะได้มีเวลาใกล้ชิดกันมาก ควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) ฝึกอดใจเก็บสิ่งที่อยากท�าเอาไว้ท�าทีหลัง
ขึ้น โดยเฉพาะบรรดาคุณพ่อคุณแม่ที่มี สามารถจัดการอารมณ์ ความรู้สึกที่ และเลือกท�าสิ่งที่ส�าคัญให้เสร็จก่อน
ลูกน้อยช่วงปฐมวัย การ work from home เกิดขึ้นโดยแสดงออกให้เหมาะสมกับ สิ่งเล็กๆ น้อยๆ เหล่านี้เป็นการค่อยๆ ฝึก
ร่วมกับเด็กๆ ไม่ใช่เรื่องง่าย ในช่วงเวลา สถานการณ์ ๕) การวางแผนจัดการ EFs เด็กทีละน้อย
แบบนี้นอกจากคุณพ่อคุณแม่จะหัน (Plan / Organize) รู้จักตั้งเป้าหมาย นอกจากนั้นการอ่านหนังสือ
มาจัดบรรยากาศในบ้านให้เอื้อต่อการ จัดล�าดับความส�าคัญของงาน เริ่มต้น ก็สามารถช่วยเสริมทักษะ EFs ให้เด็ก
ท�างานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ลงมือท�า แก้ปัญหาจนท�าให้งานส�าเร็จ ได้เช่นกัน ยิ่งพ่อแม่อ่านหนังสือให้ลูกฟัง
แล้ว ขณะเดียวกันต้องมีการจัดมุมการ และปรับปรุงงานให้ดีขึ้นได้ มากเท่าไหร่ เด็กก็จะมีสมาธิดี มีทักษะใน
เล่นหรือท�ากิจกรรมที่ปลอดภัยส�าหรับ การอ่าน การเขียน และมีเชาวน์ปัญญา
เด็ก และแบ่งเวลาพักผ่อนเพื่อดูแล พ่อแม่จะพัฒนาทักษะการคิดเชิง ที่ดีขึ้นเท่านั้น ส�าหรับการส่งเสริมให้เด็ก
ลูกน้อยด้วยการท�ากิจกรรมให้เด็กรู้สึก บริหารให้ลูกได้อย่างไร? เล่นดนตรีก็เป็นการฝึกสมองที่ดีเช่นกัน
ผ่อนคลาย หลักพื้นฐานของการพัฒนา EFs พ่อแม่จึงควรเปิดโอกาสให้ลูกท�า
ปัจจุบันการสอนให้เด็กมีความรู้อย่างเดียว ในเด็กเล็ก เริ่มจากเด็กจะต้องมีความ สิ่งต่างๆ ได้ด้วยตนเองตามวัย โดยมีพ่อ
ยังไม่เพียงพอ เพราะเด็กจะต้องมีความ รู้สึกอบอุ่นปลอดภัย และมีปฏิสัมพันธ์ แม่คอยสนับสนุน คอยให้ก�าลังใจ ชื่นชม
เฉลียวฉลาดทางอารมณ์ สามารถ ที่ดีกับผู้เลี้ยงดู พ่อแม่ควรดูแลเด็กให้มี เมื่อลูกท�าด้วยตนเองจนส�าเร็จ เมื่อเจอ
ควบคุมความคิด การตัดสินใจ และการก พัฒนาการที่สมวัย ได้รับประทานอาหาร ปัญหาอุปสรรคฝึกให้ลูกคิดแก้ปัญหา
ระท�าต่างๆ ของตนเองได้ เชื่อว่าพ่อแม่ ที่มีประโยชน์ นอนหลับพักผ่อน และออก ฝึกให้ลูกตัดสินใจด้วยตนเอง สิ่งส�าคัญ
ยุคใหม่อาจจะคุ้นเคยกับค�าว่า “ทักษะ ก�าลังกายอย่างเพียงพอ อีกอย่างที่พ่อแม่ควรใส่ใจเป็นพิเศษ คือ
การคิดเชิงบริหาร” หรือ Executive ส�าหรับการฝึกทักษะให้เด็กมี EFs การดูแลลูกน้อยไม่ให้เกิดความเครียด
Functions (EFs) กันมาบ้างแล้ว ที่ดีนั้น สามารถท�าได้หลายวิธี ไม่ว่าจะ หรือวิตกกังวล ไม่ควรสอนลูกด้วยการ
รองศาสตราจารย์ ดร.นวลจันทร์ เป็นการเลือกของเล่นให้ลูกได้ฝึกคิด ใช้ก�าลัง ดุด่า ตี ลงโทษ บังคับ โดย
จุฑาภักดีกุล จากศูนย์วิจัยประสาท อย่างสร้างสรรค์ เช่น เล่นตัวต่อ บล็อกไม้ ไม่อธิบายเหตุผล รวมทั้งการท�าร้าย
วิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์ บอร์ดเกมส�าหรับเด็ก หมากฮอส หมากรุก ด้วยวาจา การใช้ความรุนแรงจะยิ่ง
โมเลกุล ได้อธิบายเรื่อง EFs ในเด็ก เป็นต้น ของเล่นพัฒนาทักษะเหล่านี้ กระตุ้นให้เด็กดื้อและก้าวร้าว หากเด็ก
ปฐมวัยไว้ว่า พัฒนาการของเด็กช่วงแรก จะช่วยฝึกสมองส่วนหน้าให้เด็ก มีความเครียดก็จะยับยั้งการท�าหน้าที่
เกิดถึงอายุ ๖ ปี เป็นระยะเริ่มต้นที่มีความ มีพัฒนาการด้านความ ของสมองส่วนหน้าสุด และยับยั้งการ
ละเอียดอ่อน เป็นช่วงเวลาส�าคัญที่สุดใน คิด การมีสมาธิจดจ่อ พัฒนาด้าน EFs ของเด็ก
การสั่งสมประสบการณ์จากสิ่งที่ได้เรียน การวางแผนจัดการ เด็กที่ได้รับการฝึกฝนทักษะ EFs
รู้ต่างๆ รอบตัว โดยพ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็ก การคิดสร้างสรรค์ อย่างสม�่าเสมอด้วยวิธีที่ถูกทาง
มีส่วนส�าคัญอย่างมากในการเสริมสร้าง เป็นต้น หรือแม้แต่ จะมีโอกาสประสบความส�าเร็จใน
พัฒนาการสมองของเด็กให้เติบโตเป็น การท�างานบ้ านก็ ชีวิตสูง เนื่องจากเด็กจะสามารถ
ผู้ที่มีทักษะแห่งอนาคต สามารถก�ากับ เป็นการฝึกให้เด็กมี ควบคุมตนเองได้ ยับยั้งตนเอง
ตนเองไปสู่ความส�าเร็จได้ ไม่ให้ท�าในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
การคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย มีความเพียรพยายาม
ประกอบด้วยทักษะพื้นฐาน ๕ ด้าน คือ มีความสามารถในการคิด
๑) ความจ�าขณะท�างาน (Working วิเคราะห์ วางแผน และ
Memory) หมายถึงความจ�าที่ใช้ในการ แก้ไขปัญหา ส่งผลให้
ท�างาน จ�าข้อมูลไว้ในใจ และจัดการ สามารถจัดการกับชีวิต
ข้อมูลเหล่านั้นเพื่อท�าความเข้าใจ ได้อย่างราบรื่น กล้า
ในการเรียนรู้และคิดแก้ปัญหา ๒) คิด กล้าแสดงออก
การยับยั้งพฤติกรรม (Inhibitory Control) และมีความภาคภูมิใจ
สามารถหยุดพฤติกรรมที่เคยชิน หยุดคิด ในตนเอง
ก่อนท�า และควบคุมความคิดให้จดจ่อ
กับงานที่ท�าได้ ๓) การยืดหยุ่นทาง
มหิดลสาร ๒๕๖๓ 19