Page 8 - MU_2Feb63
P. 8

Special Article
             งานสื่อสารองค์กร
             คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
                      คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล จัดเสวนาพิเศษ Science Cafe:
                                ภาพ “หลุมด�า” ภาพแรกของมวลมนุษยชาติ






















                  หลุมด�า เป็น วัตถุท้องฟ้าที่มีมวลและ มือระดับนานาชาติจากหลายสิบประเทศ  ซึ่งเป็ นบริเวณที่แสงไม่สามารถหลุด
               แรงโน้มถ่วงสูงมาก เกิดจากการยุบตัว ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุตั้งต้น  ออกมาได้อีกด้วย ส่วนการศึกษาหลุมด�า
               ของดาวฤกษ์ที่มีความโน้มถ่วงมหาศาล  ๘ กล้อง กระจายอยู่ทั่วโลก อาทิ ฮาวาย  ในอนาคตเราจะอัพเกรดกล้องให้สามารถ
               เนื่องจากพื้นผิวดาวไม่สามารถต้านทาน กรีนแลนด์ แอนตาร์กติกา ชิลี สหรัฐอเมริกา  ถ่ายภาพที่มีความละเอียดสูงขึ้น โดยการ
               ความโน้มถ่วงจากมวลของตนเองได้จึง สเปน แต่ละกล้องบันทึกสัญญาณและ เพิ่มความถี่จาก 220 GHz เป็น 350 GHz
               พังทลายลงไป แล้วดูดกลืนทุกสิ่งที่อยู่ น�ามารวมกัน ท�าให้เสมือนกับว่ามีกล้อง เพื่อให้ได้ภาพที่มีความละเอียดมากพอ
               ใกล้ แม้กระทั่งแสงก็ไม่สามารถเล็ดรอด ขนาดใหญ่เท่าเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก  ส�าหรับศึกษาหลุมด�าที่ใจกลางกาแลกซี่
               ออกมาได้ ที่ผ่านมา นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ เพื่อก้าวข้ามข้อจ�ากัดในเรื่องความสามารถ ทางช้างเผือก และท�าความเข้าใจสนามแม่เหล็ก
               ศึกษาหลุมด�าทางอ้อมจากคลื่นความโน้ม ของเลนส์กล้องในการแยกแยะรายละเอียด                  รอบๆ หลุมด�า และการเกิดอนุภาคพลังงาน
               ถ่วงของ LIGO ซึ่งตรวจจับได้จากการชน ของภาพออกจากกันได้        สูงที่พุ่งยาวออกมาจากหลุมด�า (jet) ด้วย
               กันของหลุมด�า หรือการสูญเสียพลังงาน   ในกระบวนการถ่ายภาพหลุมด�านั้น   ด้าน Dr. Koichiro Sugiyama จาก
               ของพัลซาร์ที่โคจรรอบหลุมด�า จนกระทั่ง กล้องทั้ง ๘ ตัว ถูกชี้ไปที่ต�าแหน่งของ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กร
               เมื่อเดือน ๑๐ เมษายน ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา  กาแลกซี่ M87 ซึ่งอยู่ห่างออกไป ๕๕  มหาชน) หรือ NARIT ได้กล่าวเพิ่มเติมถึง
               โครงการ Event Horizon Telescope (EHT)  ล้านปีแสง  ณ ใจกลางกาแลกซี่เป็นอยู่ Thailand National Radio Telescope
               ได้เปิดเผยภาพถ่ายหลุมด�าภาพแรกของ ของหลุมด�ามวลยิ่งยวด (supermassive  กล้องโทรทรรศน์วิทยุของประเทศไทย
               โลก ถือเป็นการถ่ายภาพหลุมด�าโดยตรง  black hole) ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้
               และเป็นการเปิดประตูสู่การท�าความเข้าใจ ถึง ๖.๕ พันล้านเท่า โดยท�าการบันทึก อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัด
               หลุมด�าที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นสร้างความตื่นเต้นให้ สัญญาณพร้อมๆ กันทุกวัน เป็นระยะ เชียงใหม่ ที่จะก่อสร้างแล้วเสร็จ และ
               กับนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ไปทั่วโลก  เวลาประมาณ ๑ เดือน ที่ย่านความถี่  ทดสอบภายในปลายปี ๒๕๖๓ นี้ และ
                  เมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ คณะ 220 GHz ด้วยเทคนิคการแทรกสอด โอกาสในการเข้าร่วมเครือข่ายกล้องอื่นๆ
               วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เชิญ ระยะไกล (Very Long Baseline Inter- ระดับโลกว่า กล้องโทรทรรศน์วิทยุนี้มี
               นักวิทยาศาสตร์รางวัล Breakthrough  ferometer: VLBI) ซึ่งให้ประสิทธิภาพ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางจาน ๔๐ เมตร
               Prize 2020 Dr. Kazuhiro Hada จากทีม  ความละเอียดเพียงพอเสมือนอ่าน และท�างานที่ย่านความถี่ต�่ากว่า คือ
               EHT Collaboration และ Dr. Koichiro  หนังสือพิมพ์ในนิวยอร์คจากร้านกาแฟ 1 - 100 GHz จึงเหมาะกับการร่วม
               Sugiyama จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ ในปารีส  ที่มีระยะห่างกว่า  ๖,๐๐๐  เครือข่าย VLBI กับชาติเอเชียอื่นๆ
               แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) หรือ NARIT  กิโลเมตร  หลังจากนั้นจึงน�าสัญญาณ ในการศึกษากาแลกซี่และกลุ่มแก๊สต่างๆ
               เป็นวิทยากรพูดคุย และถ่ายทอดความ จากทุกกล้องส่งให้ทีม Machine Learning  ซึ่งกล้องนี้มีความส�าคัญอย่างมากในระดับ
               รู้สู่ประชาคมเกี่ยวกับความส�าเร็จอันน่า ของโครงการที่ MIT และสถาบันมักซ์พลังค์                                                      เอเชีย เพราะอยู่ในต�าแหน่งที่เหมาะสม
               ตื่นเต้นของมนุษยชาติ  ในงานเสวนา ประเทศเยอรมนี เพื่อประมวลภาพถ่ายด้วย เมื่อร่วมมือกับชาติอื่นๆ เช่น จีน เกาหลี
               พิเศษ Science Café: ภาพ “หลุมด�า”  อัลกอริทึม CHIRP (Continuous High- ญี่ปุ่น ไต้หวัน จะท�าให้ภาพที่ได้มีความ
               ภาพแรกของมวลมนุษย์ชาติ  โดยมี                                                             resolution Image Reconstruction using  คมชัดขึ้นอย่างมาก
               ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ กิจธารา  Patch priors) ซึ่งใช้เวลาวิเคราะห์ข้อมูล  ทั้งนี้ กล้องที่ไทยยังไม่สามารถท�างาน
               อาจารย์ประจ�าภาควิชาฟิ สิกส์  คณะ ประมาณ ๑ ปี                 ที่ความถี่สูงกว่านี้ได้ เพราะเมืองไทย
               วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้  การถ่ายภาพหลุมด�าได้ส�าเร็จนั้น มีความชื้นสูง ไอน�้าในอากาศจะดูด
               ด�าเนินรายการ ณ ห้องประชุมอาคารสตางค์  เป็นการยืนยันความถูกต้องของทฤษฎี กลืนพลังงานของคลื่นความถี่สูงกว่านี้
               มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ ใน แทบทั้งหมด อย่างไรก็ตามเรามีแผน
               มหิดล พญาไท                    บริเวณความโน้มถ่วงสูงมาก และยัง จะร่วมมือกับอินเดียและจีนในการ
                  Dr. Kazuhiro Hada ได้เล่าเกี่ยวกับ เป็ นครั้งแรกที่ยืนยันถึงการมีอยู่ของ สร้ างกล้องย่านความถี่ 350 GHz
               เบื้องหลังการท�างานของทีม Event Horizon  วงแหวนโฟตอน ซึ่งเป็นอนุภาคแสงที่ เร็วๆ นี้ Dr. Koichiro กล่าวทิ้งท้าย
               Telescope หรือ EHT ว่าเป็นความร่วม โคจรรอบหลุมด�า และเงามืดของหลุมด�า

    8     February 2020                                           M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13