Page 7 - MU_2Feb63
P. 7

Special Article
                                                                                                 อ.ดร.นันธิดา จันทรางศุ
                                                                                อาจารย์ประจ�าหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา
                                                                                  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
                  ทิศทางของการจัดการศึกษาดนตรีขั้นพื้นฐานของนานาประเทศ

                             และข้อเสนอการพัฒนาหลักสูตรในประเทศไทย


                  การจัดการศึกษาดนตรีขั้นพื้นฐาน                                       (aesthetic)  แต่เพียง
               ของนานาประเทศ ให้ความส�าคัญและ                                          อย่างเดียว ปรับเปลี่ยน
               เชื่อมโยงการปฏิรูปการศึกษาเข้ากับโลก                                    มาเป็นการสอนดนตรีที่
               ไร้พรมแดนและความท้าทายใหม่ๆ ของ                                         เชื่อมโยงกับสังคมและ
               โลกหลังสมัยใหม่ รวมทั้งความเข้าใจ                                       วัฒนธรรม  น�าไปสู่การ
               ระหว่างวัฒนธรรมของคนทั่วโลกที่ต้อง                                      ส อ น ด น ต รี โ ล ก ห รื อ
               ติดต่อสื่อสารและอยู่ร่วมกันท่ามกลาง                                     พหุวัฒนธรรมดนตรีศึกษา
               ความหลากหลาย การพัฒนานวัตกรรม                                           (multicultural  music
               หลักสูตรและการเรียนสอนจึงต้อง                                                                    education) ที่มีวิธีสอน
               ตอบสนอง ความต้องการของสังคมโลก                   ที่ชัดเจนที่ถูกจัดเรียงอย่างเป็นระบบและ อย่างเป็นระบบ ไม่เพียงเท่านั้น แนวทาง
               ในทิศทางดังกล่าว               เหมาะสมตามพัฒนาการของเด็ก เช่น  การสอนนี้  ยังถือเป็นการสืบสาน
                  “ดนตรีศึกษา” ในฐานะวิชาที่เด็กไทย การคัดเลือกบทเพลง การก�าหนดทักษะ อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมดนตรีของ
               ทุกคนจะต้องเรียนเป็นวิชาบังคับในการ ทางดนตรีของแต่ละระดับความรู้ที่ใช้                                                               มนุษยชาติอีกด้วย ซึ่งทิศทางการพัฒนา
               ศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการ ในการเรียนการสอน (๕) ขาดสื่อการ หลักสูตรนี้มีหลักคิดทางวิชาการ และ
               ศึกษาขั้นพื้นฐานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีการ สอนที่เหมาะสมกับยุคสมัย และ (๖) ยัง แนวทางปฏิบัติที่สามารถน�าไปปรับใช้
               ก�าหนดตัวชี้วัดและกรอบสาระการเรียน ไม่มีพื้นที่ส�าหรับมรดกทางวัฒนธรรม                         ในบริบทของพื้นที่และบริบทของโรงเรียน
               รู้แกนกลางอย่างเปิดกว้างที่สามารถน�า ดนตรีที่หลากหลาย  ทั้งมรดกทาง ต่างๆ ได้ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย และ
               ไปสู่กระบวนการการจัดการเรียนการ วัฒนธรรมดนตรีที่ปรากฏในประเทศไทย เป็นทิศทางที่น่าสนใจที่สามารถน�ามาส่ง
               สอนที่หลากหลาย เพื่อน�าไปสู่เป้าหมาย                          และมรดกวัฒนธรรมดนตรีโลก ซึ่งเป็น เสริมการปฏิรูปการเรียนการสอนดนตรี
               ของการจัดการศึกษาในระดับประถม แนวคิดส�าคัญในการจัดการศึกษา                  ขั้นพื้นฐานที่ร่วมสมัยกับการพัฒนาการ
               ศึกษาได้ แต่เมื่อวิเคราะห์รายละเอียด                                             ดนตรีขั้น พื้นฐานในนานาประเทศ ณ  ศึกษาดนตรีขั้นพื้นฐานของประเทศไทย
               ในแบบเรียนและวิธีการสอน พบปัญหา ปัจจุบัน                      ให้ทันกับการปฏิรูปการศึกษาดนตรีใน
               อยู่มากที่ท�าให้การจัดการเรียนการ  ข้อมูลแนวโน้มการจัดการศึกษาและ ระดับนานาชาติได้
               สอนวิชาดนตรีในปัจจุบันไม่ตอบโจทย์                                        ปัญหาที่พบในข้างต้น แนวคิดเทคนิค
               เป้าหมาย                       การสอน “ดนตรีโลก”
                  การจัดการศึกษาดนตรีในระดับ                    (world music peda-
               การศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างที่ควรจะเป็น  gogy) เป็นแนวทาง
               ไม่ตอบโจทย์การปฏิรูปการศึกษาและ การส่งเสริมการจัดการ
               การพัฒนาผู้เรียนในบริบทโลก ปัญหา เรียนการสอนดนตรี
               หลักที่พบ เช่น (๑) เป้าหมายการจัดการเรียน เพื่อการพัฒนาเด็ก
               การสอนในปัจจุบัน               ระดับประถมศึกษา
                  เมื่อเปรียบเทียบกับหลักสูตรและ ตามแนวคิดที่เหมาะ
               วิธีการสอนในระดับนานาชาติ พบว่า  สมและใช้กันในหลาย
               แนวคิดและวิธีการสอนยังตามหลัง ประเทศ  การปฏิรูป
               บริบทสากลที่เปลี่ยนแปลงและการ การศึกษาดนตรีที่ใน
               พัฒนาหลักสูตรในหลายประเทศ                                       หลายๆ  ประเทศทั่ว
               อยู่มาก (๒) ครูผู้สอนดนตรีขาดทักษะ  โลกมีการปรับเปลี่ยน
               และประสบการณ์ดนตรีที่เพียงพอ อีกทั้ง ปรัชญาการจัดการ
               ครูยังขาดเทคนิคและวิธีการจัดกิจกรรม ศึกษาดนตรีที่ไม่ได้
               การเรียนรู้ที่เหมาะสม กิจกรรมการเรียนรู้ เน้นแต่ประโยชน์และ
               ไม่หลากหลาย กิจกรรมไม่สอดคล้อง คุณค่าของดนตรีต่อ
               กับสาระการเรียนรู้ (๓) แนวทางการ                           การพัฒนาทางร่างกาย
               แปรหลักสูตรไปสู่วิธีการสอนยังขาด สติปั ญญา  จิตใจ
               ความเข้าใจในการตีความเพื่อก�าหนด อารมณ์ สังคม และ
               วิธีการสอนที่เหมาะสมในแต่ละช่วงชั้น  เน้นการสอนดนตรีเพื่อ
               (๔) การขาดองค์ความรู้ด้านเนื้อหาสาระ ประสบการณ์สุนทรียะ





                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๓       7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12