Page 6 - MU_2Feb63
P. 6

Special Article
             ฐิติรัตน์ เดชพรหม


                                 คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ม.มหิดล
                กับบทบาท ๔๗ ปีของสถาบันผู้สร้าง “เมล็ดพันธุ์” สิ่งแวดล้อมศึกษาของชาติ


                  “...พระเจ้าอยู่หัวเป็นน�้าฉันจะเป็นป่า                                                                                                                                 รองศาสตราจารย์ ดร.นาท ตัณฑวิรุฬห์
               ป่ าที่ถวายความจงรักภักดีต่อน�้า                              ผู้ก่อตั้งและอดีตคณบดีคณะสิ่งแวดล้อม
               พระเจ้าอยู่หัวสร้างอ่างเก็บน�้าฉันจะ                          และทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
               สร้างป่า...” พระราชด�ารัส สมเด็จพระนาง                        ผู้วางรากฐานการเรียนการสอน การวิจัย
               เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี นาถ พระบรม                         และบริการวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
               ราชชนนีพันปีหลวง พระราชทานเมื่อวันที่                         ให้สังคมไทยตลอดเวลา ๔๗ ปีที่ผ่านมา
               ๒๐ ธันวาคม ๒๕๒๕ ณ บ้านถ�้าคิ้ว อ�าเภอ                         กล่าวไว้ว่า การอนุรักษ์และการจัดการ
               ส่องดาว จังหวัดสกลนคร                                         ใช้ทรัพยากรของชาตินั้น ควรด�าเนินการ
                  ข้อมูลจากกระทรวงทรัพยากร                                   ให้ถูกรูปแบบ โดยการกระท�าต้องไม่มี
               ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระบุว่า จาก                            ผลเสียในภายหลัง และใช้ให้เหมาะสม
               เมื่อปี  ๒๕๑๖ ประเทศไทยมีพื้นที่ป่ า                          แก่กาลเวลา ซึ่งเมล็ดพันธุ์แห่งปัญญาที่
               ๑๓๘,๕๖๖,๘๗๕ ไร่ หรือร้อยละ ๔๓.๒๑                              รองศาสตราจารย์ ดร.นาท ตัณฑวิรุฬห์
               ของพื้นที่ประเทศ แต่ในปี  ๒๕๕๙ –                              ได้ปลูกไว้ตลอดช่วงชีวิตที่ผ่านมานั้น
               ๒๕๖๐ ประเทศไทยเหลือพื้นที่ป่ าไม้  ปัญหาไฟป่าในประเทศไทย นอกจาก ได้กลายเป็นพลังส�าคัญของชาติด้านการ
               ทั้งหมด ๑๐๒.๑ ล้านไร่ หรือร้อยละ  จะเป็ นการท�าลายสมดุลของระบบ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
               ๓๑.๕๘ ของพื้นที่ประเทศ ท�าให้การ นิเวศในธรรมชาติแล้ว ยังก่อให้เกิด มาแล้วมากมาย
               ป้องกันและรักษาทรัพยากรป่าไม้ เป็น วิกฤติมลพิษหมอกควันที่ส่งผลกระทบต่อ  นางสาวเบญจพร กองเพชร หรือ “นิว”
               หนึ่งในนโยบายเร่งด่วนที่ส�าคัญของ สุขภาพอนามัยของประชาชนอีกด้วย  นักศึกษาชั้นปีที่ ๓ คณะสิ่งแวดล้อมและ
               รัฐบาล                         ดังนั้น จึงต้องช่วยกันดูแลและป้องกันไม่ให้ ทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าว
                  การบุกรุกท�าลายพื้นที่ป่า เพื่อเปลี่ยน เกิดไฟป่า รวมทั้งด�าเนินการส่งเสริมและ ถึงสาเหตุที่เลือกเรียนคณะสิ่งแวดล้อม
               เป็นพื้นที่เกษตรกรรม หรือสิ่งปลูกสร้างเพื่อ สนับสนุนให้มีการเพิ่มพื้นที่ป่า และหรือ และทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
               รองรับการท่องเที่ยว ซึ่งถือเป็นปัญหาพื้น พื้นที่สีเขียว เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพ ว่าเกิดจากสนใจปัญหาภาวะโลกร้อน และ
               ฐานที่ส�าคัญ จ�าเป็นต้องท�าการรณรงค์ให้ ชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนที่ผ่านมา มหาวิทยาลัย การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยมี
               ประชาชนตระหนักและเห็นผลกระทบของ มหิดลได้น้อมน�าพระราชด�าริในการอนุรักษ์ ต้นแบบจาก รองศาสตราจารย์ ดร.นาท
               การบุกรุกท�าลายป่าดังกล่าว รัฐบาลจึง ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้าง ตัณฑวิรุฬห์ ผู้ก่อตั้งคณะฯ ที่ตนและ
               ก�าหนดให้วันที่ ๑๔ มกราคมของทุกปี  มหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco University)  นักศึกษาคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
               เป็นวันอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของชาติ ตามแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเพื่อ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ทุกคนเคารพ
                  รองศาสตราจารย์ ดร.สุระ พัฒนเกียรติ  ความยั่งยืน เพื่อให้มหาวิทยาลัยมหิดล นับถือ  ซึ่งการอนุรักษ์ไม่ได้หมายถึง
               คณบดีคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร เป็นเมืองมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green  แค่การเก็บรักษาเอาไว้ แต่คือการใช้ให้เกิด
               ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คนปัจจุบัน  Campus) ที่มีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่นน่าอยู่  ประโยชน์สูงสุด
               กล่าวว่า วิกฤติไฟป่าที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรง โดยมีการส่งเสริมการเรียนรู้ ควบคู่กับสร้าง  ด้าน  นางสาวณฐนน  ฤทธิ์เดช
               ในโลก  ก็เป็นอีกสาเหตุส�าคัญในการ จิตส�านึกและความรับผิดชอบต่อสังคม    หรือ “นัทโก๊ะ” ซึ่งเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ ๓
               ท�าให้พื้นที่ป่าถูกท�าลาย ส่วนใหญ่เป็น และสิ่งแวดล้อม         อีกหนึ่งเมล็ดพันธุ์ของคณะสิ่งแวดล้อม
               ผลพวงมาจากวิกฤติการณ์ของการ       ปัญหาการท�าลายทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรศาสตร์  ซึ่งเป็นสมาชิก
               เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือภาวะ ป่าไม้นั้นพบได้ทุกพื้นที่ แต่จะมีวิธีการ ชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
               โลกร้อนที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น                                                                          อย่างไรที่จะรักษาป่าไว้ให้อยู่ตราบนาน               มหาวิทยาลัยมหิดล ได้กล่าวถึงความ
               ในขณะที่สาเหตุของการเกิดไฟป่าใน เท่านาน “สิ่งแวดล้อมศึกษา” จึงเป็น                  ส�าคัญของการอนุรักษ์ว่า “ธรรมชาติ”
               ประเทศไทยส่วนใหญ่พบว่าเกิดจากฝีมือ เครื่องมือที่ส�าคัญในการแก้ปัญหาและ เป็นต้นก�าเนิดของ “ปัจจัย  ๔”  ที่เป็น
               มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการลักลอบเผาป่า เพื่อ ปรับปรุงคุณภาพของสิ่งแวดล้อมได้ใน สิ่งส�าคัญในการด�ารงชีวิตของมนุษย์ จริงๆ
               หาของป่า ล่าสัตว์ หรือ เผาในกิจกรรม ระยะยาว                   แล้วธรรมชาติไม่ได้ต้องการให้เราไปสร้าง
               ทางการเกษตร ฯลฯ โดยเฉพาะการเกิดไฟ  ตั้งแต่ปี ๒๕๑๖ - ปัจจุบัน คณะสิ่งแวดล้อม อะไรให้เพิ่มเติม ขอเพียงแค่เรารบกวน
               ป่าในพื้นที่พรุในประเทศไทย ซึ่งเกิดขึ้นบ่อย และทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ธรรมชาติให้น้อยที่สุด เห็นคุณค่าของ
               ครั้งและทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจาก ได้จัดให้บริการการศึกษา วิจัย ฝึกอบรม  ธรรมชาติให้มากที่สุดเท่านั้น เราก็จะอยู่ร่วม
               เกิดการสะสมซากอินทรียวัตถุในปริมาณ และการบริการวิชาการทางด้านการจัดการ กันได้อย่างยาวนาน
               มาก ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงอย่างดีในการเกิด                                                                                ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งใน  อนาคตของป่า คือ อนาคตของชาติ
               ไฟป่า การแก้ไขปัญหาจึงจ�าเป็นต้องมีการ ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และนานาชาติ  คือ การอยู่ร่วมกันระหว่าง “มนุษย์” กับ
               ท�าแนวกันไฟ หรือลดปริมาณเชื้อเพลิง ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี จนถึงปริญญา “ธรรมชาติ” ที่ต้องรักษาให้เกิดความสมดุล
               ด้วยวิธีการ “ชิงเผา” แต่วิธีการที่ดีที่สุด เอก โดยมีวิสัยทัศน์เป็นสถาบันชั้นน�า                                                   อย่างยั่งยืนสืบไป
               คือสร้างความตระหนักแก่ประชาชน แห่งเอเชียด้านการศึกษา การวิจัย
               เพื่อป้องกันการเกิดไฟป่าจากกิจกรรม และการบริการวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม
               ต่างๆ                          ศึกษาที่ยั่งยืน

    6     February 2020                                           M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11