Page 11 - MU_2Feb63
P. 11
Research Excellence
ผศ.ดร.กิตติคุณ วิวัฒน์ภิญโญ
ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล ม.มหิดล
ฝุ่นละออง PM 2.5 กับผลกระทบต่อการเจริญพัฒนาสมองของทารกในครรภ์
ภูมิคุ้มกันให้สังเคราะห์โปรตีนที่อาจ
รบกวนการเจริญพัฒนาของสมองและ
ระบบประสาทของทารกในครรภ์
การศึกษาในหนูแรทที่ตั้งครรภ์ที่ได้
รับ PM 2.5 พบว่าในน�้าคร�่ามีปริมาณ
ของสารไซโตไคน์ที่กระตุ้นการอักเสบ
(inflammatory cytokines) ที่เพิ่มขึ้น
มากกว่าในกลุ่มควบคุม ซึ่งคาดว่าสาร
กลุ่มนี้อาจส่งผลเสียต่อระบบประสาท
ในหนูตัวอ่อน เพราะพบความบกพร่อง
ในการแสดงออกของยีนที่ควบคุมการ
เจริญและพัฒนาของเซลล์ประสาทใน
ส่วนฮิปโปแคมปัส (hippocampus) ซึ่ง
มีหน้าที่โดยตรงในด้านการจดจ�าและ
ในช่วงเวลานี้คิดว่าทุกท่านใน ประสาทด้วย โดยการศึกษาสมองของ เรียนรู้ การศึกษานี้ได้รับการยืนยันเพิ่ม
มหาวิทยาลัยมหิดลของเราคงจะได้พบ กลุ่มประชากรในเขตชุมชนเมืองทาง เติมจากงานวิจัยที่ศึกษาเปลือกเซรีบรัม
เจอกับมลภาวะทางอากาศในชื่อของ ด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกาโดยวิธี (cerebral cortex) ในหนูไมซ์ตัวอ่อนที่ได้
ฝุ่นละอองขนาดจิ๋ว หรือ PM 2.5 แล้ว magnetic resonance imaging (MRI) รับ PM 2.5 ผ่านทางแม่หนูตั้งครรภ์ โดย
ส�าหรับในปีนี้ก็นับได้ว่าสถานการณ์เลว ในปี ๒๕๖๑ โดยคณะนักวิจัยพบว่าใน พบว่าเซลล์ประสาทตายมากกว่าในกลุ่ม
ร้ายกว่าในปีที่ผ่านมาพอสมควร โดย กลุ่มคนที่สัมผัสกับ PM 2.5 เป็นเวลา ควบคุม อีกทั้งยังมีพฤติกรรมที่ผิดปกติ
เฉพาะในช่วงเดือนมกราคมที่ผ่านมานี้ก็ ๕ - ๑๔ ปี มีขนาดของสมองส่วนกลีบ ไป งานวิจัยทั้งสองนี้แสดงถึงอันตราย
มีหลายวันทีเดียวที่ปริมาณ PM 2.5 เพิ่ม หน้าผากหรือ frontal lobe ที่มีขนาด ของ PM 2.5 ต่อทารกในครรภ์ ที่แม้ว่าจะ
สูงขึ้นจนอยู่ในระดับที่เป็นอันตรายต่อ เล็กกว่าปกติ ซึ่งสมองบริเวณดังกล่าวนี้ ได้รับในเวลาสั้น ๆ แต่อาจส่งผลกระทบ
สุขภาพ ไม่ว่าจะในเขตกรุงเทพมหานคร สัมพันธ์กับการควบคุมการเคลื่อนไหว ต่อการเจริญพัฒนาของสมองได้ และยัง
หรือในละแวกวิทยาเขตศาลายาเอง และกระบวนการคิดวิเคราะห์ อาจส่งผลกระทบมาจนถึงความสามารถ
ก็ตาม ซึ่งทุกภาคส่วนก็ได้มีการรณรงค์ คนกลุ่มหนึ่งที่น่าจะได้รับผลกระทบ ในด้านกระบวนการรู้คิดของเด็กอีกด้วย
และแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นไปบ้างแล้ว จาก PM 2.5 ที่มากกว่าคนกลุ่มอื่น คือ การศึกษาผลกระทบของ PM 2.5 ต่อ
แต่กว่าจะเข้าสู่เดือนมีนาคมที่คาดว่า กลุ่มสตรีมีครรภ์ โดยสารพิษที่อยู่ในฝุ่น พัฒนาการของสมองและระบบประสาท
จะมีกระแสลมของฤดูร้อนพัดให้ฝุ่น PM ละอองขนาดจิ๋วนี้อาจแพร่เข้าสู่กระแส จึงยังเป็นหัวข้อที่น่าศึกษาต่อยอดและ
2.5 นี้เจือจางลงไป เราก็คงต้องป้องกัน เลือด ผ่านเนื้อเยื่อของรกและสู่ทารกใน ยังมีค�าถามในการวิจัยอีกมาก โดย
ตัวเองไปพร้อมกับการดูแลสุขภาพครับ ครรภ์ ซึ่งส่งผลเสียต่อพัฒนาการของ เฉพาะผลในระยะยาวต่อสมองของ
หากเราได้ติดตามจากสื่อหลายแหล่ง สมองได้ มีการศึกษาผลของ PM 2.5 ต่อ เด็กเล็กและเด็กวัยเรียนที่อยู่ในสภาพ
ที่น�าเสนออันตรายจากฝุ่นละออง PM สตรีมีครรภ์โดยการประเมินภาวะเครียด แวดล้อมที่ได้รับ PM 2.5 ในปริมาณ
2.5 เราจะเข้าใจได้ถึงพิษภัยที่มีผลกระ ของทารกในครรภ์ (fetal distress) ซึ่ง มาก ซึ่งจะช่วยให้ภาครัฐสามารถน�า
ทบต่อปอดและระบบทางเดินหายใจ แต่ การศึกษานี้ท�าในเมืองอู่ฮั่น สาธารณรัฐ ไปก�าหนดนโยบายในระดับชาติเพื่อ
ท่านผู้อ่านทราบหรือไม่ว่าในระยะ ๔-๕ ประชาชนจีนในช่วงปี ๒๕๕๖ ถึง ๒๕๕๘ ช่วยลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นต่อ
ปีที่ผ่านมานี้ ทั่วโลกเริ่มรายงานผลการ พบว่าหากสตรีตั้งครรภ์ได้รับ PM 2.5 พัฒนาการทางสมองในเด็กที่อยู่สิ่ง
วิจัยผลกระทบของปริมาณ PM 2.5 ต่อ เพิ่มขึ้น ๑๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ แวดล้อมที่ได้รับ PM 2.5 อีกทั้งยังเป็น
สมองและระบบประสาทที่เพิ่มขึ้นอย่าง เมตรในตลอดช่วงการตั้งครรภ์ จะเพิ่ม หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เน้นย�้าให้ทุกภาค
รวดเร็ว เนื่องจากสารเคมีและละออง โอกาสที่ทารกในครรภ์จะตกอยู่ในภาวะ ส่วนต้องร่วมกันลดการก่อมลภาวะทาง
โลหะหนักที่เป็นองค์ประกอบในฝุ่น เครียดถึงร้อยละ ๒๕ ไม่นานมานี้ก็เริ่ม อากาศเพื่ออนาคตของชาติ
ละออง PM 2.5 นี้มีขนาดเล็กมากพอที่ มีการวิจัยผลของ PM 2.5 ในเชิงลึก ซึ่ง
จะแพร่ผ่านเซลล์ของถุงลมปอดและ นิยมศึกษาจากสัตว์ทดลองเนื่องจาก ติดตามอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
หลอดเลือดฝอย และเข้าสู่กระแสเลือด สามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ได้แม่นย�า https://mb.mahidol.ac.th/th/kmmb-
ของเราได้ ซึ่งสารเคมีเหล่านี้ก็มีโอกาส กว่าการศึกษาจากในประชากรมนุษย์ knowledge-sharing/
ที่จะไปก่อผลเสียต่อเนื้อเยื่อในระบบ และพบว่าสารพิษจาก PM 2.5 น่า
อวัยวะต่าง ๆ นอกเหนือจากระบบทาง จะแทรกซึมเข้าสู่กระแสเลือดและไป
เดินหายใจ รวมทั้งในสมองและระบบ กระตุ้นการท�างานของเซลล์ในระบบ
มหิดลสาร ๒๕๖๓ 11