Page 5 - MU_2Feb63
P. 5

Internationalization
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม


                                  ม.มหิดล เผยความคืบหน้าผลักดันระบบชี้วัด
                           ASEAN Rating on Healthy University สู่ประชาคมโลก



                                                                               จุดมุ่งหมายส�าคัญ คือต้องการให้
                                                                             มหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุข
                                                                             ภาวะที่ดี  ได้เห็นถึงพัฒนาการและ
                                                                             แข่งขันกับตัวเองเพื่อให้เกิดการพัฒนา
                                                                             อย่างต่อเนื่อง พร้อมๆ ไปกับสร้างการ
                                                                             รับรู้แก่ประชาชน จากนั้นจะได้มาร่วม
                                                                             แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับมหาวิทยาลัย
                  ประเด็นสุขภาพของประชาชนเป็นเรื่อง มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพมีทั้งหมด ๒๒   อื่นๆ เพื่อพัฒนาเป็นงานวิจัยและงาน
               ที่รัฐบาลทุกประเทศให้ความใส่ใจให้ความ เรื่อง ซึ่งครอบคลุมระบบการพัฒนา  วิชาการเชิงนโยบายเพื่อเผยแพร่สู่สังคม
               ส�าคัญ มหาวิทยาลัยมหิดลถือว่าเป็ น และโครงสร้างพื้นฐานด้านต่างๆ ๙ เรื่อง   วงกว้างต่อไป
               มหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญทาง รวมถึงกิจกรรมการลดละเลิกปัจจัย  ศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร
               ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ  ในหลาย เสี่ยงทางสุขภาพ ๖ เรื่อง ได้แก่ บุหรี่   ณ อยุธยา กล่าวต่อไปว่า เมื่อเร็วๆ นี้
               ปี ที่ผ่านมา  เครือข่ายมหาวิทยาลัย แอลกอฮอล์ สารเสพติด การพนัน ความ  ทางคณะกรรมการฯ ได้มีการหารือปรับ
               อาเซียน (AUN) จึงได้มอบหมายให้ รุนแรง ตลอดจนเรื่องความปลอดภัยบนท้อง  เปลี่ยนชื่อจาก ASEAN Rating on
               มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นผู้น�าในการขับ ถนนในสถานศึกษา ควบคู่กับกิจกรรมการ  Healthy University (ARHU) เป็น Healthy
               เคลื่อนภารกิจการส่งเสริมสุขภาพใน ส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก ๗ เรื่อง อาทิ ให้  University Rating System (HURS)
               เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN  ความรู้ด้านสุขภาพกายและสุขภาวะทางใจ   เพื่อให้สอดรับกับทิศทางความสนใจ
               University Network-Health Promotion  การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ด้านโภชนาการ   ในระดับนานาชาติให้มากขึ้น โดยจะ
               Network; AUN-HPN) โดยมีส�านักงาน พฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย และความ  มีการขยายผลการใช้เกณฑ์การชี้วัด
               เลขาธิการแห่งใหม่ ซึ่งปรับเปลี่ยนมา สมดุลของชีวิต             สู่ระดับโลกเช่นเดียวกับ UI Green Metric
               อยู่ในความดูแลของสถาบันพัฒนา      กระบวนการประเมินผลอยู่ในกรอบ  ที่พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย ในการ
               สุขภาพอาเซียน โดยได้มีการเปิดตัวอย่าง ของ 5-stars rating system เริ่มจาก  วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและระบบเชิงนิเวศน์
               เป็นทางการไปเมื่อเร็วๆ นี้     การให้มหาวิทยาลัยประเมินตนเอง  โดยคาดว่าจะแพร่หลายภายใน ๒ – ๓ ปี
                  ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง  ส�าหรับตัวชี้วัดในแต่ละเรื่องผ่านระบบ  หลังจากเป็นที่รู้จักในระดับอาเซียน ซึ่งถึง
               มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดี คอมพิวเตอร์ พร้อมประมวลผลและ   ตอนนั้นประโยชน์จะเกิดกับทุกคน รวมไป
               มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ด้วยบทบาท สะท้อนออกมาเป็นภาพรวม วิเคราะห์  ถึงประชาคมโลก
               ของมหาวิทยาลัยมหิดลในการขับเคลื่อน ศักยภาพในแต่ละด้าน และเทียบกับ
               เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพในเครือข่าย ค่าคะแนนมาตรฐานเพื่อค�านวณออก  * ขอขอบคุณภาพจาก AIHD
               มหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียน เป็นสิ่งที่ มาในระดับ 1-5 stars จากทั้งหมด
               แสดงถึงศักยภาพของมหาวิทยาลัยใน ๑,๐๐๐ คะแนน ระดับ
               การชี้น�าสังคมที่ตอบโจทย์ให้ประชาชน 1 star อยู่ระหว่าง ๑ –
               ได้รับความรู้ในเรื่องสุขภาวะ สามารถ ๑๙๙ คะแนน ระดับ 2
               ป้องกันตัวเองไม่ให้เจ็บป่วยได้   stars อยู่ระหว่าง ๒๐๐
                  เริ่มจากที่มหาวิทยาลัยมหิดลได้ – ๓๙๙ คะแนน ระดับ
               ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ 3  stars  อยู่ระหว่าง
               มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ เพื่อให้ประชาชน ๔๐๐ – ๕๙๙ คะแนน
               ชาวไทยได้รับรู้  แล้วขยายผลต่อไปยัง ระดับ  4  stars  อยู่
               มหาวิทยาลัยต่างๆ และยังมีบทบาทใน ระหว่าง ๖๐๐ – ๗๙๙
               ระดับอาเซียนจัดท�าระบบชี้วัดเพื่อที่จะให้ คะแนน ระดับ 5 stars
               ประกาศนียบัตรรับรองแก่มหาวิทยาลัยที่มี อยู่ระหว่าง  ๘๐๐  –
               ระบบการจัดการที่ดีในเรื่องเกี่ยวกับการส่ง ๙๐๐ คะแนน และอีก
               เสริมสุขภาวะในมหาวิทยาลัย โดยเริ่มแรก ๑๐๐ คะแนนส�าหรับ
               จากที่เป็นสมาชิกในกลุ่มมหาวิทยาลัย ระดับยอดเยี่ยม (Best
               สุขภาพระดับอาเซียน และจะขยายผล Practice) ซึ่งก�าหนดใน
               สู่ระดับโลกต่อไปในอนาคต        ลักษณะ 5 stars plus
                  ศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร  ทั้งนี้คะแนนในระดับ
               ณ อยุธยา คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์  5 stars หรือสูงกว่า จะ
               มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะประธาน มีการตรวจประเมิน
               คณะกรรมการพัฒนาระบบติดตามและ และยืนยันจากคณะ
               ประเมินผล ASEAN Rating on Healthy  กรรมการในระดับ
               University (ARHU) กล่าวเสริมว่า ตัวชี้วัด นานาชาติด้วย

                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๓       5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10