Page 13 - MU_3Mar62
P. 13

Special Article
                                                                                                     วีระพงศ์ มีสถาน
                                                                                           สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย

                 สงกรานต์อันเหมาะควร


                  ย่างเข้าสู่เมษาทีไร เราคนไทยก็มักจะประหวัดไปถึงมหกรรม
               หนึ่งที่เรียกว่า “สงกรานต์” ซึ่งเป็นเทศกาลสาดน�้า สร้างความสนุก
               หรรษาแก่คนทั้งหลาย
                  เทศกาลดังว่านี้ มิได้มีเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น ยังมีใน
               ประเทศ สปป. ลาว พม่า  กัมพูชา และเวียดนาม บางส่วนทางตอน
               ใต้ของจีน โดยเฉพาะในเขตที่เรียกว่า สิบสองพันนาซึ่งมีชายแดน
               ติดต่อกับ สปป.ลาว และเขตเต้อหง (ไทใต้ฃง, ไทใต้คง)                              สายสาแหรกเดียวกัน ครั้นเมื่อกราบไหว้แล้ว ท่านผู้อาวุโสก็มักจะ
               ชายแดนติดต่อกับพม่า                            กล่าวอวยพรให้ลูกหลานอยู่ดีมีสุข บ้างก็มีน�้าหอมแป้งร�่า บ้างเป็น
                  แก่นเนื้อหาหลักของเทศกาลสงกรานต์ คือการเฉลิมฉลอง           น�้าปรุง หรือน�้าที่ฝนจากเหง้าขมิ้นกลิ่นไพล น�ามาโปรยหรือ
               ปีใหม่ เพราะแต่เดิมนั้น ผู้คนในอาณาบริเวณที่กล่าวข้างต้น            ประพรมพอกระเซ็นกระสายให้ถูกหัวถูกตัวบรรดาลูกหลานที่มา
               รับเอาหลักการค�านวนเวลารอบปีมาจากอินเดีย ดังจะพบว่า          กราบไว้ ดังเดียวกับอาการที่พระภิกษุประพรมน�้าพระพุทธมนต์
               แม้ชื่อเรียกราศีหรือชื่อเดือนในรอบปี ก็เป็น “ชื่อแขก” เช่น ราศีเมษ  แก่สาธุชนผู้มาร่วมท�าบุญ
               ราศีพฤษภ ราศีเมถุน เป็นอาทิ ต�าราการค�านวนนี้ เริ่มนับเอาราศี  “พร” หรือ ความดีที่มีอยู่ในตัวคนนั้น คนเฒ่าคนแก่ ถือว่าเป็น
               เมษ หรือช่วงเดือนเมษายน เป็นราศีที่ ๐ เป็นการเริ่มต้นของปี    ผู้มีพรมากคนหนุ่มสาวหรือเด็ก การอวยพร (อวย แปลว่า ให้)
               ด้วยเหตุนี้  ชาวเมืองทั้งหลายจึงเรียกเทศกาลสงกรานต์                                     ตามโบราณกาล จึงให้จากผู้มีมากไปสู่ผู้มีน้อย เช่นเดียวกับน�้า
               อีกชื่อหนึ่งว่า งานปีใหม่ หรืองานบุญปีใหม่     ที่ไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต�่ากว่า หรือเช่นเดียวพระศิวะให้พรแก่นนทก
                  ในอดีต สิ่งที่เหมือนกันของชาวเมืองในประเทศดังกล่าวคือ         ในเรื่องรามเกียรติ์ แต่ไม่มีฉากนนทก หรือยักษ์ หรือลิงตัวใด
               มีอาชีพด้านกสิกรรม การเพาะปลูกซึ่งอาศัยน�้าธรรมชาติเป็นหลัก  ให้พรแก่พระศิวะ
               และเดือนเมษานั้น อากาศร้อน ว่างเว้นจากฝนตก จึงเป็นโอกาสที่  เทศกาลสงกรานต์ จึงเป็นโอกาสดีที่บรรดาลูกหลานผู้ตระหนัก
               คนผู้คนจะได้เฉลิมฉลองกันเต็มที่ นอกจากนี้ ยังก�าหนดให้เป็น  ดีว่า ยังมีพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย หรือผู้มีพระคุณต่อชีวิตของตน
               วาระปราศจากงาน ไม่ว่าจะเป็นปลูกพืช ทอผ้า และงานอื่นๆ            ได้ท�าไว้ จะได้ไปกราบขอพรจากท่าน เพื่อให้ท่านได้รับรู้ว่า
               ที่เป็นการยังชีพ ต่างก็ให้งดเว้น มุ่งเน้นเพื่อความสนุกหรรษา        เรายังคงเคารพนอบน้อม มีท่านเป็นสรณะ คือเป็นที่พึ่งที่ระลึก
               และพักผ่อน อีกประการคือการไปเยือนญาติผู้ใหญ่ ทั้งฝ่ายพ่อ    คอยยึดเหนี่ยวจิตใจให้เกรงกลัวต่อความชั่วเลวอยู่เสมอ การดังว่า
               และฝ่ายแม่ มีปู่-ย่า และตา-ยาย เป็นต้น         นี้จะช่วยชุบชูจิตใจของท่านให้เบิกบาน  เพราะคนเรานั้น เมื่อรู้ว่า
                  การไปเยือนญาติผู้ใหญ่ มักจะมีของฝากไปก�านัลแด่ท่าน เช่น  มีคนเคารพรัก ก็ย่อมมีจิตที่ชื่นบานเป็นธรรมดา
               แพรผืนใหม่ ผ้าไหมผืนงาม ส้มสูกลูกไม้ นอกจากเป็นการคารวะ  สงกรานต์อันเหมาะควรจึงเป็นดังนี้  ส่วนการเล่นสาดน�้าจนตัวโชก
               ตามฐานะทางเครือญาติแล้ว ยังเป็นการแสดงความเคารพ           หรือการเสพเมรัยจนเมาหัวราน�้านั้น เป็นส่วนประกอบของ
               และบอกเล่าถึงความเจริญก้าวหน้าของลูกหลานว่านเครือที่อยู่ใน  สงกรานต์เท่านั้น  Mahido

                                  อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติและคณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล
                                ร่วมจัดนิทรรศการสมุนไพร ในงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๖
                            “สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย” Thai Herbs and Nuad Thai for Thai Future
                                                                       อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล










                  อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติและคณะเภสัชศาสตร์  พร้อมเยี่ยมชมนิทรรศการจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งนี้ ได้เข้าชม
               มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับเชิญจาก กรมการแพทย์แผนไทยและ  นิทรรศการของอุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ โดยมี ผู้ช่วย
               การแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ให้เข้าร่วมจัดนิทรรศการ  ศาสตราจารย์ ดร.ภก.ภานุพงษ์ พงษ์ชีวิน หัวหน้าภาควิชา
               สมุนไพร ในงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ และการประชุม  เภสัชพฤกษศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.นิศารัตน์
               วิชาการประจ�าปี การแพทย์แผนไทย  การแพทย์พื้นบ้าน  ศิริวัฒนเมธานนท์ อาจารย์ประจ�าภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์
               และการแพทย์ทางเลือกแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๖  “สมุนไพร นวดไทย  จากคณะเภสัชศาสตร์ และบุคลากรอุทยานธรรมชาติวิทยาฯ
               อนาคตไทย” Thai Herbs and Nuad Thai for Thai Future  น�าชมนิทรรศการ ซึ่งภายในนิทรรศการ ได้จัดแสดงสมุนไพร เครื่องยา
               ระหว่างวันที่ ๖ – ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ อิมแพค ฮอลล์ ๑๐-๑๑-๑๒  และข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับสมุนไพรที่ใช้ในการนวดและ
               เมืองทองธานี                                   แก้ปวดเมื่อย การบริหารร่างกายด้วยฤๅษีดัดตน พร้อมทั้งยังมี
                  โดยในวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์คลินิก  กิจกรรมตอบค�าถามสมุนไพร หมอยาพาชมสมุนไพร และกิจกรรม
               เกียรติคุณ นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการ  สาธิตการบริหารร่างกายด้วยฤาษีดัดตน ส�าหรับบรรยากาศภายใน
               กระทรวงสาธารณสุข กล่าวเปิดงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติฯ  งานผู้เข้าร่วมงานให้ความสนใจและเข้าร่วมท�ากิจกรรมในส่วนของ
               ครั้งที่ ๑๖ และปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “สมุนไพร นวดไทย อนาคตไทย”  นิทรรศการอุทยานธรรมชาติวิทยาฯ เป็นจ�านวนมาก  Mahido


                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18