Page 17 - MU_3Mar62
P. 17

Research Excellence
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม


                          รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ: รางวัลวิทยานิพนธ์ ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๖๒
                                                      รางวัลระดับดี
                                              สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
                                   การศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงทางอิเล็คทรอนิคส์
                              ของสารประกอบเชิงซ้อนของเหล็ก ซึ่งเป็นแบบจ�าลองจากเอนไซม์

                             ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการท�าปฏิกิริยากับสารเคมีโมเลกุลเล็ก
                 (Electronic Tunings in Biomimetic Iron Complexes for Small Molecule Activation)
                                                โดย ดร.ธีรา ฉันทโรจน์ศิริ
                             อาจารย์ประจ�าภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
                     (ส�าเร็จการศึกษาจาก: University of California, Berkeley, ประเทศสหรัฐอเมริกา
                                   อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก: Prof.Christopher J. Chang)


                                                 ผลงานวิจัยนี้  ท�าให้เกิดความ  ที่ปลำยทำงมำกกว่ำ ท�ำให้งำนวิจัยพื้น
                                              เข้ าใจทางเคมี  เกี่ยวกับการ   ฐำนจึงมักถูกละเลย ได้รับกำรสนับสนุน
                                              เปลี่ยนแปลงทางอิเล็กทรอนิคส์          ค่อนข้ำงน้อย เนื่องจำกใช้เวลำนำนกว่ำ
                                              ต่อประสิทธิภาพ และความสามารถ   จะไปถึงผลิตภัณฑ์ แต่ความก้าวหน้า
                                              ในการท�าปฏิกิริยาออกซิเดชัน และ  ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก็
                                              รีดักชันของสารประกอบเชิงซ้อน   เหมือนกับการสร้างเจดีย์  กว่าที่เรา
                                              ของเหล็ก โดยได้รับการตีพิมพ์ และ                   จะส ร้ าง
                                              อ้างอิงถึงในวารสารระดับนานาชาติ                    เจดีย์ ขึ้ น

                  สารโมเลกุลเล็ก เช่น น�้า ออกซิเจน                                              มาถึงยอด
               คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นสารตั้งต้นที่ส�าคัญ                                          ต้องมีฐาน
               ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีในธรรมชาติ ซึ่งเรา                                          ที่ มั่ น ค ง
               สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ ทั้งในด้าน                                                 การที่เรา
               พลังงานทางเลือก และการพัฒนา                                                       จะได้มาซึ่ง
               กระบวนการทางเคมีให้เป็นมิตรกับ                                                    ปลายทาง
               สิ่งแวดล้อม การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยา                          ซึ่งก็คือนวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ จะ
               ส�าหรับกระบวนการเหล่านี้สามารถ                                ต้องมีต้นทางซึ่งก็คืองานวิจัยพื้นฐาน
               ท�าได้โดยการศึกษาผลของการเปลี่ยน                              ที่ดีก่อน”   Mahido
               หมู่ฟังก์ชันทางเคมีต่อการเปลี่ยนคุณสมบัติ  ตลอดจนได้รับการน�าเสนอในการ
               ทางรีดอกซ์
                  งานวิจัยนี้มุ่งเน้นในการสร้างองค์  ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
               ความรู้พื้นฐานทางเคมี โดยศึกษาผลของ  มีประโยชน์อย่างสูงในทางวิชาการ
               การเปลี่ยนโครงสร้ างทางเคมีต่อ  รวมทั้งสามารถน�าไปต่อยอดในทาง
                                              อุต ส า ห ก ร ร มโ ด ย ก า ร พัฒ น า
               คุณสมบัติในการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยารีดอกซ์
               ของสารโมเลกุลเล็ก  เช่น  น�้า  ก๊าซ  กระบวนการผลิตที่เกี่ยวกับการ
               ออกซิเจน ก๊าซไฮโดรเจน และก๊าซ  ออกซิเดชันให้เป็นกระบวนการที่ผลิต
               คาร์บอนไดออกไซด์  ซึ่งมีมากมาย            ของเสียน้อยลง และเป็ นมิตรกับ
               ในธรรมชาติและเป็นสารตั้งต้นที่ส�าคัญ   สิ่งแวดล้อม  และการน�าคาร์บอน
               ผู้วิจัยได้ออกแบบสารประกอบ     ไดออกไซด์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจก
                                              มาผลิตเป็ นสารตั้งต้นส�าหรับ
               เชิงซ้ อนที่ สามารถผลิตก๊ าซ
               ไฮโดรเจนโดยใช้พลังงานไฟฟ้า และ  อุตสาหกรรมเคมีและพลังงานทางเลือก
                                                 ดร.ธีรา ฉันทโรจน์ศิริ กล่าวฝากว่า
               ได้ค้นพบวิธีการสังเคราะห์สาร       “วิทยำศำสตร์พื้นฐำนมีควำมเกี่ยวข้อง
               ออกซิไดซ์จากสารประกอบเหล็ก     กับชีวิตประจ�ำวัน บำงคนไม่เข้ำใจ ไม่ให้
               โดยใช้น�้า  และพลังงานจากแสง           ควำมส�ำคัญ เนื่องจำกสิ่งที่คนจับต้องได้
               และการออกแบบสารประกอบ          เป็น “ปลำยทำง” ของงำนวิจัยพื้นฐำน
               เชิงซ้อนจากเหล็กที่สามารถรีดิวซ์  ซึ่งกว่ำจะไปถึงขั้นนั้น จะต้องผ่ำนอีก
               คาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้พลังงาน  หลำยขั้นตอน กำรที่เรำให้ควำมส�ำคัญ
               ไฟฟ้า
                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒      17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22